Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12347
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอิศเรศ ศันสนีย์วิทยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัทรธิดา รัตนจิตรานนท์, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-27T02:22:48Z-
dc.date.available2024-06-27T02:22:48Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12347-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.(บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานในภาพรวม (2) เปรียบเทียบระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการแต่ละกอง /สำนักในส่วนกลางสังกัดกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และ(4) เสนอแนวทางในการเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน รูปแบบการวิจัยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงผสมวิธี ประชากรที่ศึกษาคือ ข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานส่วนกลาง 23 กอง/สำนัก จำนวน 540 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ ได้ตัวอย่างจำนวน 230 คน และการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และ การสัมภาษณ์เชิงลึก นำข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า (1)ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานของแต่ละกอง/สำนัก โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานแต่ละกอง/สำนักไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ปัจจัยด้านแรงจูงใจมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (4) แนวทางในการเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการคือ การสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน กำหนดแนวทางการสร้างแรงพลักดันในการทำงาน รวมถึงนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาสนับสนุนการปฏิบัติงานและพัฒนางานเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานให้สูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน--ข้าราชการth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานth_TH
dc.title.alternativeFactor influencing the Department of Labour Protection and Welfare Civil Servants' Work Achievementen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the overall work performance of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare , (2) to compare work’s level performance in each division/and central part office of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare, (3) to study factors influencing the performance of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare , and (4) to offer Guidelines for enhancing the work performance of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare. The research model uses a mixed method research. The study population was Civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare, 23 divisions/bureaus, 540 people. The sample size was determined using the calculation formula of Taro Yamane. The total of samples are 230 people were and the proportional sampling, drawn using the stratified random sampling method. The research tools were questionnaires and in-depth interviews. The quantitative data were analyzed using statistical values such as frequency distribution, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The qualitative data analysis section used SWOT analysis. According to the results of this research (1) The overall work performance of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare was at a high level. (2) The level of performance of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare of each division/bureau using One-Way ANOVA analysis. Labor protection for each division/ bureau was not statistically significantly different at the level .05 (3) Motivation factors had influenced on work performance of civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare. (4) Guidelines for enhancing work achievement for the civil servants of the Department of Labor Protection and Welfare were to create incentives to working, determine ways to create motivation to work including the use of modern technology to support work performance and to improve work to increase performance levelsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม37.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons