Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12355
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปวีณา ยะวงศาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-06-28T02:49:32Z-
dc.date.available2024-06-28T02:49:32Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12355en_US
dc.description.abstractองค์การสหประชาชาติได้สนับสนุนให้ประเทศต่าง ๆ มีการนำระบบการจำแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลกหรือ GHS มาใช้ ประเทศไทยได้เริ่มนำระบบ GHS มาใช้ในการจำแนกประเกทและการติดฉลากสารเคมีและข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงชนิดฉีดพ่นอัดก๊าซเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งที่ผลิตมาจากสารเคมีที่เป็นอันตรายหลายชนิดและจากการตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑ์ดังกล่าวในท้องตลาดปัจจุบันยังไม่มีข้อความแสดงความเป็นอันตรายที่จะเตือนผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ มีแต่วิธีใช้และการป้องกันตนเอง วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1) เพื่อพัฒนาฉลากผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงชนิดฉีดพ่นอัดก๊าซตามระบบ GHร และ 2) เปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ระหว่างฉลากที่มีอยู่ในท้องตลาดกับฉลากที่จัดทำตามระบบ GHS ผู้ศึกษาได้พัฒนาฉลากผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงชนิดฉีดพ่นอัดก๊าซตามระบบ GHS แล้วมาทำการทดสอบเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์นี้กับฉลากแบบปัจจุบันที่อยู่ในท้องตลาด โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างอย่างเฉพาะเจาะจงเป็นประชาชนทั่วไปที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปที่เป็นข้าราชการ และผู้มาติดต่อราชการของกรมการค้าต่างประเทศ จำนวน 100 คน สรุปผลการวิจัย 1) ผู้ศึกษาได้ทำการพัฒนาฉลากผลิตภัณฑ์ฯตามระบบ GHS โดยครอบคลุมความเป็นอันตรายทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ความเป็นอันตรายทางกายภาพ ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม 2) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสำรวจความรู้ ความเข้าใจฉลากผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงชนิดฉีดพ่นอัดก๊าซส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 41- 50 ปี การศึกษาระดับปริญญา อาชีพรับราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ ผู้ตอบแบบสำรวจฯส่วนใหญ่ชอบฉลากผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นมามากกว่าแบบปัจจุบัน ในด้านความชัดเจนและความเข้าใจของสัญลักษณ์และข้อมูลแสดงความเป็นอันตรายและข้อควรปฏิบัติ เมื่อเห็นสัญลักษณ์และข้อมูลแสดงความเป็นอันตรายมีความสนใจหรือต้องการอ่านรายละเอียดที่เหลือ ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาฉลากผลิตภัณฑ์ต่างๆ ตามระบบ GHS คือ สัญลักษณ์บางสัญลักษณ์ยังไม่เป็นที่คุ้นเคย และทำให้เกิดความสับสนในการสื่อความหมายของสัญลักษณ์ ภาครัฐควรทำการประชาสัมพันธ์ให้บุคคลทั่วๆ ไปมีความรู้ ความเข้าใจกับสัญลักษณ์ต่างๆ การนำระบบ GHS มาใช้อย่างแพร่หลายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสารเคมี--ฉลากth_TH
dc.subjectสารเคมี--การจัดการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleการพัฒนาฉลากผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงชนิดฉีดพ่นอัดก๊าซตามระบบการจำแนกสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลกth_TH
dc.title.alternativeLabel development of spraying pesticide according to Globally Harmonized system of classification and labelling of Chemicals (GHS)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_129440.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons