Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12361
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปิยะรัตน์ กฤตยานวัชth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-06-28T03:52:01Z-
dc.date.available2024-06-28T03:52:01Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12361en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของสมาชิกเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการดำเนินงาน โครงการเมืองไทยเข็งแรง (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและความคิดเห็นกับการมีส่วนร่วมของสมาชิกเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการดำเนินงานโครงการเมืองไทยแข็งแรง อำเภอกันตัง จังหวัคตรัง ประชากรที่ศึกษาคือสมาชิกเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานตามโครงการสานใจคนกันตังแข็งแรงสู่เมืองไทยแข็งแรง อำเภอกันตังตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2549 -2550 ประกอบไปด้วยอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) สมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.) กำนันผู้ใหญ่บ้านและสมาชิกชมรมสร้างสุขภาพกลุ่มตัวอย่างจำนวน 227 คน สุ่มแบบง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงในด้านความคิดเห็นเท่ากับ 0.75 และด้านการมีส่วนร่วมเท่ากับ 0.89 ได้แบบสอบถามกลับคืนครบทั้งหมด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา การทดสอบไคสแควร์ และสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 42.54 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีอาชีพเกษตรกรรม มีร้ายได้ต่อเดือน 5,000 -10,000 บาท ดำรงตำแหน่งเป็น อสม. ความคิดเห็นโดยรวมต่อการดำเนินงานโครงการเมืองไทยแข็งแรงอยู่ในระดับสูง การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเมืองไทยแข็งแรงในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) เพศ การศึกษา อาชีพ การดำรงตำแหน่งในชุมชนไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมมีเพียงรายได้ที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมและอายุมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำสุดกับความคิดเห็นของเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 ความคิดเห็นด้านประโยชน์ บทบาทของสมาชิกเครือข่าย การจัดทำแผนงานและการได้รับรางวัลของชุมชนมีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่ความคิดเห็นในภาพรวมไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเมืองไทยแข็งแรง ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยคือจะต้องพัฒนารูปแบบและส่งเสริมให้สมาชิกองค์กรต่างๆ ในชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการเมืองไทยแข็งแรงโดยนำความคิดเห็นที่มีอยู่ในระดับสูงอยู่แล้วมาใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างการมีส่วนร่วมให้เพิ่มมากขึ้นต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโครงการเมืองไทยเข้มแข็ง--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอนามัยชุมชน--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเมืองไทยแข็งแรงของสมาชิกเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน อำเภอกันตัง จังหวัดตรังth_TH
dc.title.alternativeThe opinions and participations of people health network member in the Implementation of Healthy Thailand Project, Kantung District in Trang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_115684.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons