Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12376
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์th_TH
dc.contributor.authorรัชดาพร โพธิวัฒน์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-06-28T08:37:51Z-
dc.date.available2024-06-28T08:37:51Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12376en_US
dc.description.abstractโรงสีข้าวเป็นอุตสาหกรรมการผลิตที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งมีการใช้เครื่องจักรและอุปกรณ์ในการผลิตข้าวสารตลอดจนการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ พนักงานจึงมีความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุจากการทำงานและผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยอันเนื่องมาจากการใช้สารเคมี มลพิษทางสิ่งแวดล้อม รวมทั้งอันตรายจากเหตุฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ จัดทำคู่มือความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของโรงสีข้าว สำหรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของพนักงานและผู้เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการศึกษา ผู้ศึกษาทำการรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสำรวจความปลอดภัย รวมทั้งข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุ ผลการสอบสวนและวิเคราะห์อุบัติเหตุจากการทำ งานในแต่ละลักษณะงาน เพื่อหาแนวทางการป้องกันอันตรายในการทำงาน โดยนำเอาหลักการและแนวปฏิบัติของกฎหมายด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนทฤษฎีและองค์ความรู้จากแหล่งต่าง ๆ มาประกอบการจัดทำเป็นร่างคู่มือ จากนั้นดำเนินการพิจารณาตรวจสอบคู่มือโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของโรงสีข้าว จำนวน 3 ท่าน ก่อนนำมาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิและจัดทำเป็นคู่มือฉบับสมบูรณ์ ผลการศึกษา ได้คู่มือที่มีเนื้อหารวมทั้งหมด 6 บท ประกอบด้วย บทที่ 1 การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของโรงสีข้าว บทที่ 2 แนวทางการปฏิบัติงานกับเครื่องจักรและอุปกรณ์อย่างปลอดภัย บทที่ 3 แนวทางการปฏิบัติงานในที่อับอากาศ บทที่ 4 แนวทางการปฏิบัติงานกับสารเคมี บทที่ 5 แนวทางการยกเคลื่อนย้ายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ และบทที่ 6 แนวทางการจัดการด้านเหตุฉุกเฉินth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความปลอดภัยth_TH
dc.subjectโรงสีข้าวth_TH
dc.subjectสิ่งแวดล้อม--การฝึกอบรมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleคู่มือความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของโรงสีข้าวth_TH
dc.title.alternativeRice mill safety and environmental management manualen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeRice mills are a major agricultural industry in Thailand and their grain processing involves machinery, manufacturing equipment and logistic management of raw materials and products. Operators are at risk of occupational accidents and detrimental health effects caused by chemical exposure, environmental pollution and emergency accidents. The purpose of this study was to develop a Rice Mill Safety and Environment Manual and use it as guidelines for operators and relevant persons during rice milling and processing. The study design was based on the collected data from a safety survey and accident statistics as well as investigation and analysis of operator accidents from individual job characteristics in order to develop guidelines for preventing occupational accidents. The principles and good practices associated with occupational safety and environment, relevant theories and knowledge were also applied in drafting a Rice Mill Safety and Environment Manual. The draft Manual was reviewed and verified by three experts whose feedbacks were used in finalizing the Manual. The result of this study was the Rice Mill Safety and Environment Manual comprising six chapters: (1) Management of rice mill safety and environment; (2) Safety practices for engines and equipment; (3) Good practices in confined space; (4) Good practices when getting exposed to hazardous chemicals at work; (5) Good practices in the logistics of materials and products; and (6) Recommended good practices in the management of emergency accidentsen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_151051.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons