Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1241
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรเดช มโนลีหกุลth_TH
dc.contributor.authorศาสตรา อ่อนรัศมี, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-29T06:38:29Z-
dc.date.available2022-08-29T06:38:29Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1241en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตเชิงนโยบาย 2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ ปัญหาการปราบปรามการทุจริตเชิงนโยบายทั้งทางด้านกฎหมายและระเบียบวิธีการที่เกี่ยวข้องตามกฎหมายไทย 3) เปรียบเทียบกฎหมายและระเบียบวิธีการเพื่อปราบปรามการทุจริตเชิงนโยบายของเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายระหว่างประเทศไทย กับต่างประเทศ 4) นําผลจากการวิเคราะห์มาสังเคราะห์เป็นแนวทางเพื่อทราบถึงการปราบปรามการทุจริตเชิงนโยบายให้สอดคล้องกับความจําเป็นในการดําเนินกระบวนการยุติธรรม วิทยานิพนธ์เรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการวิจัยทางเอกสารจากตํารา บทความ วิทยานิพนธ์ ตัวบทกฎหมาย โดยการนํารูปแบบของกฎหมายต่างประเทศมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับกฎหมายไทย ผลการศึกษาพบว่า 1) กลไกในการบังคับใช้กฎหมายมีความเป็นอิสระ 2) โดยผู้ที่ต้องถูกบังคับตาม กฎหมายเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ อันเป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง 3) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกนและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561 มีบทบัญญัติความผิดครอบคลุม ได้นําหลักอายุความสะดุดหยุดอยู่ ใช้บังคับกรณีหลบหนีจากกระบวนการยุติธรรม, บทกำหนดโทษ ความผิดมีความรุนแรง 4) มีมาตรการตามบทบัญญัติการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม 5) มีการบัญญัติมาตรการคุ้มครองพยานและการกันบุคคลหรือผู้ถูกกล่าวหาเป็นพยานโดยไม่ดําเนินคดี รวมถึง 6) มีมาตรการเกี่ยวกับทรัพย์สิน การขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 อันเป็นการสอดคล้องตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ.2003 ที่เป็นหลักให้รัฐภาคีดําเนินการเป็นแนวทาง และสอดคล้องกับกฎหมายของต่างประเทศที่ นํามาศึกษาเปรียบเทียบ ข้อเสนอแนะของงานวิจัยครั้งนี้คือ 1) เห็นควรกำหนดอัตราผู้เชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตร์ หรือการตรวจสอบโครงสร้างในการตรวจโครงการขนาดใหญ่ และหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายเป็นฝ่ายใช้กาลังในการปฏิบัติงานให้ขึ้นตรงกับสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 2) ควรมีการปรับปรุงพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561 ในประเด็นของการกระทําความผิดตาม บทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ที่เกิดนอกราชอาณาจักร ให้สามารถนําพระราชบัญญัติฉบับนี้บังคับใช้ในราชอาณาจักรได้ รวมถึง 3) การบัญญัติมาตรการลงโทษแก่ผู้กระทําความผิดให้มีการริบทรัพย์สินเป็นจํานวนเท่าของมูลค่าความเสียหาย เพื่อเป็นมาตรการปราบปรามทางทรัพย์สิน อันเป็นมูลเหตุจูงใจหลักของการตัดสินใจกระทําการทุจริต คอร์รัปชันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.35en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมือง--ไทยth_TH
dc.subjectนักการเมือง--ไทย--การทุจริตth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561th_TH
dc.titleมาตรการปราบปรามการทุจริตเชิงนโยบายth_TH
dc.title.alternativeMeasures to suppress policy corruptionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2018.35-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.35en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are: 1. To study the concept and theory in respect of the policy corruption; 2. To study and analyze problems on the suppression of the policy corruption in both legal and relevant protocols in accordance with Thai laws; 3. To compare the laws and protocols on the suppression of the policy corruption of the competent officers in Thailand and overseas; 4. To bring the result of such analysis to synthesize in order to make guidelines, suppressing the policy corruption in correspondence with the necessity of the judicial procedures. This is a qualitative research, using the method of the documentary research acquired from textbooks, articles, thesis, laws and the comparative analysis between foreign laws and Thai laws. The result of this research found that 1. There is the independence in the law enforcement mechanism 2. Which is applied to government officials, and are political office holders. 3. The Organic Law on the Anti-Corruption, B.E. 2561 contains comprehensive provisions of offences and has applied the principle of the interruption of prescription to the avoidance of the judicial procedure and its sanctions are severe. 4. Under this law there are measures to prevent the conflict between the personal interest and public interest. 5. There are measures of witness protection and of preventing persons or accused from being as witnesses without prosecution. In addition, 6. There are measures on properties, request of property becoming the national property under the Anti-Money Laundering Act, B.E. 2542 in conformity with the United Nations Convention against Corruption-UNCAC, 2003, which is the state parties shall adopt measure as the guideline and shall enact their law to be in correspondence with the compared foreign laws. My recommendation is that: 1. The manpower should be allocated to experts in the field of sciences or the inspection of structure in the large project and the law enforcement organization who are in charge of operation shall report to the Office of the National Anti-Corruption Commission, 2. The Organic Law on the Anti-Corruption, B.E. 2561 should be amended in the issue of extraterritorial application to enforce for the offence occurring outside introduction of The Kingdom of Thailand to be enforceable in The Kingdom of Thailand as well as, 3. the punishment measure to the offender by forfeiting its properties equally to the damage value in order to be a suppression measure on the properties, which is a main motivation of the decisionmaking to commit the corruption.en_US
dc.contributor.coadvisorลาวัลย์ หอนพรัตน์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib161723.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons