Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12425
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บริบรูณ์ ปิ่นประยงค์ | th_TH |
dc.contributor.author | รษา ประเสริฐศรี | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-04T08:08:04Z | - |
dc.date.available | 2024-07-04T08:08:04Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12425 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความพึงพอใจในระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์ของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (2) การรับรู้ในระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์ของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และ (3) ระดับความพึงพอใจในระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์ของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือ พนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร จำนวน 1,637 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการคำนวณตามสูตรของทาโร ยามาเน่ ได้ทั้งสิ้น 321 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที่ และการทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ความพึงพอใจในระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์ของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันมีผลต่อความพึงพอใจในการบริการข่าวสารระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 (2) การรับรู้ในการบริการข่าวสารระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์ ของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ส่วนใหญ่รับรู้ผ่านทางเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย มีการเข้าใช้งานมากกว่า 1 ครั้ง / สัปดาห์ และมีวัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานเพื่อสืบค้นข้อมูล และ (3) ความพึงพอใจในระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์ของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตรในภาพรวมอยู่ในระดับมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์ | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยีสารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การรับรู้และความพึงพอใจในการบริการข่าวสารระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์ของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร | th_TH |
dc.title.alternative | Perception and satisfaction toward public relations information system service of Academic support staff at Srinakharinwirot University Prasarnmit | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study were: (1) to study the satisfaction toward public relations information system services of academic support staff at Srinakharinwirot University Prasarnmit, classified by personal factors; (2) to study the perception toward public relations information system services of academic support staff at Srinakharinwirot University Prasarnmit; and (3) to study the satisfaction toward public relations information system services of academic support staff at Srinakharinwirot University Prasarnmit. This study was a quantitative research. The population of this study was 1,637academic support staff at Srinakharinwirot University Prasarnmit. The sample size was calculated by Taro Yamane’s formula as a total of 321 samples. The sample was selected by stratified sampling method. A questionnaires was used as a research instrument to collect data. Data were then analyzed using statis-tics including percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test. The results of this study indicated that: (1) regarding the relationship between personal factors and satisfaction on public relations information system services, the results showed that the respondents with different personal factors had no different satisfaction on public relations information system services with a statistical significance level of 0.05; (2) most of the respondents had perception on public relations information system services through the university's website. They accessed information system more than 1 time per week and the purpose of access was to search for in-formation; and (3) the respondents’ satisfaction with public relations information system services was at a high level. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
161117.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License