กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12468
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorวิยะดา คงเพชร, 2502-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-07-11T02:19:00Z-
dc.date.available2024-07-11T02:19:00Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12468en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยสนับสนุนขององค์กรในการดำเนินงานตามมาตรฐานงานสุขศึกษา (2) การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในการดำเนินงานตามมาตรฐานงานสุขศึกษาในแต่ละองค์ประกอบและภาพรวม (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและปัจจัยสนับสนุนขององค์กร กับการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามมาตรฐานงานสุขศึกษาของศูนย์สุขภาพชุมชนในเครือข่ายโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช ประชากรที่ศึกษาคือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชนเครือข่ายโรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช ทุกคน จำนวน 80 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามซึ่งมีค่าความ เที่ยงเท่ากับ 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การสนับสนุนขององค์กรโดยภาพรวมส่วนใหญ่ อยู่ในระดับปานกลาง (2) การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา ส่วนใหญ่มีส่วนร่วมระดับปานกลาง ทั้งโดยรวมและแต่ละองค์ประกอบ (3) ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ การได้รับการอบรม ด้านสุขศึกษามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขส่วนระดับการศึกษาตำแหน่งในการปฏิบัติงาน อายุ อายุราชการ ระยะเวลาปฏิบัติงานที่สถานีอนามัยนี้ไม่มี ความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมปัจจัยสนับสนุนขององค์กรด้านนโยบายของสาธารณสุขอำเภอ ด้านวิชาการด้านงบประมาณและการนิเทศติดตามมีความสัมพันธ์ กับการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามมาตรฐานงานสุขศึกษาของศูนย์สุขภาพชุมชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ(1) สาธารณสุขอำเภอ ควรประการนโยบาย เป้าหมายการดำเนินงานให้เจ้าหน้าที่ทุกคนได้รับทราบ สนับสนุนวิชาการจัดทีมนิเทศติดตามอย่างต่อเนื่อง จัดตรง งบประมาณเพื่อการดำเนินงานและการสร้างขวัญกำลังใจอย่างเพียงพอ (2) เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ทุกระดับในทุกขั้นตอนของการดำเนินงาน และควรจัดอบรมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพิ่มเนื้อหาเรื่องการมีส่วนร่วมด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_us
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_us
dc.sourcereformateden_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเจ้าหน้าที่สาธารณสุข--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectศูนย์สุขภาพชุมชน--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.subjectเจ้าหน้าที่สาธารณสุข--การทำงานth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดำเนินงานตามมาตรฐานงานสุขศึกษาของศูนย์สุขภาพชุมชนในเครือข่ายโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativehe participations of health personnel in the implementation according to the health education standard of primary care unit in Maharaj Nakhonsrithammarat hospital's networken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Health-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext_115739.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.6 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons