Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12492
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชยth_TH
dc.contributor.authorวรวิทย์ จันทวรรณโณ, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-07-12T02:52:20Z-
dc.date.available2024-07-12T02:52:20Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12492en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสำรวจข้อมูลความปลอดภัยในการใช้สารเคมีของโรงงานในเขตประกอบการอุตสาหกรรม เอส ไอ แอล จังหวัดสระบุรี 2) เพื่อคำนวณพื้นที่ที่อาจจะได้รับผลกระทบจากอันตรายของสารเคมีที่สถานประกอบการทำการจัดเก็บไว้ในโรงงานโดยใช้โปรแกรมคาเมโอที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฉุกเฉินที่ใช้คอมพิวเตอร์ 3) เพื่อประเมินระยะรัศมีการแพร่กระจายจากการรั่วไหลของสารเคมีที่ความเข้มข้นในระยะต่างๆ โดยใช้โปรแกรมอโลฮาที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดพื้นที่ ที่มีบรรยากาศอันตราย และข้อมูลอุตุนิยมวิทยา 4) เพื่อประเมินพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในระยะต่าง ๆ จากการรั่วไหลของสารเคมี โดยใช้โปรแกรมอโลฮาและข้อมูลอุตุนิยมวิทยาร่วมกับแผนที่ดิจิตอล กูเกิล เอิร์ธ และ 5) เพื่อจัดทาแผนฉุกเฉินกรณีสารเคมีรั่วไหลได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยตัวแทนฝ่ายบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม หรือเจ้าหน้าที่สิ่งแวดล้อมของโรงงานในเขตประกอบการอุตสาหกรรม เอส ไอ แอล จังหวัดสระบุรี ทั้งหมดจำนวน 35 โรงงาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่โปรแกรมคอมพิวเตอร์คาเมโอและอโลฮา ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาร่วมกับแผนที่ดิจิตอล กูเกิล เอิร์ธ และแบบสำรวจข้อมูลโรงงานผลการวิจัยพบว่า 1) โรงงานในเขตประกอบการอุตสาหกรรม เอส ไอ แอล จังหวัดสระบุรี มีการประกอบกิจการผลิตสารคาร์บอนไดซัลไฟด์ ที่มีระดับความเสี่ยงสูง 2) การคำนวณพื้นที่ที่อาจจะได้รับผลกระทบจากอันตรายจากการรั่วไหลของสารคาร์บอนไดซัลไฟด์ โดยใช้โปรแกรมคาเมโอ มีรัศมีโดยรอบ 0.6 ไมล์ 3) ระยะรัศมีการแพร่กระจายจากการรั่วไหลของสารเคมีที่ความเข้มข้นในระยะต่างๆ โดยใช้โปรแกรมอโลฮาและข้อมูลอุตุนิยมวิทยาพบว่าในระยะทาง 142 เมตร มนุษย์มีโอกาสเสียชีวิต 4) พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในระยะต่าง ๆ จากการรั่วไหลของสารคาร์บอนไดซัลไฟด์จะขึ้นอยู่กับทิศทางลมใต้และลมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่าน และ 5) ผลจากการจัดทำแผนฉุกเฉินเป็นประโยชน์ในการป้องกันการรั่วไหลของสารเคมีได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_us
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงงาน--มาตรการความปลอดภัย--ไทย--สระบุรีth_TH
dc.titleการจัดทำแผนฉุกเฉินกรณีก๊าชรั่วไหลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ : กรณีศึกษาโรงงาน ในเขตประกอบการอุตสาหกรรม เอส ไอ แอล จังหวัดสระบุรีen_US
dc.title.alternativeEmergency plan formulation for gas leaking by using computer programs : a case study of factories in SIL Industrial Area, Saraburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study were : 1) to study Material Safety Data Sheet (MSDS) of Factories in SIL Industrial Area, Saraburi Province; 2) to evaluate vulnerability zone radius from chemicals of the factories by using CAMEO (Computer – Aided Management of Emergency Operations) software; 3) to estimate risky radiance around chemical leakage with ALOHA software and the meteorological information; 4) to evaluate the area affected from gas leakage with ALOHA (Ariel Location of Hazardous Atmosphere) software, the meteorological information, and digital map Google Earth; and 5) to formulate the emergency plan of chemical leakage safety and effectively. The studies samples were the representative of environmental management (EMR) or the environmental facilities of all 35 factories in SIL Industrial Area, Saraburi Province, The instruments used were the computer software (CAMEO and ALOHA), the meteorological information, and factory survey data. The results of this study were that : 1) the factories located in SIL Industrial Area, Saraburi Province produced carbon disulfide which was the extremely hazardous substances; 2) the CAMEO software found vulnerability zone radius from carbon disulfide leakage of 0.6 mile; 3) the radius from this chemical leakage evaluated at concentration in various distances by using ALOHA software and meteorological information was of 142 meters which causes human lethality; 4) the area affected from carbon disulfide leakage in various distances depended on the blown direction of south and northeast winds; and 5) the emergency planning of this chemical leakage had advantage for preventing chemical leakage safety and effectively.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_132300.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons