Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12493
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจth_TH
dc.contributor.authorกรทอง ชูสร้อย, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-07-12T02:52:36Z-
dc.date.available2024-07-12T02:52:36Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12493-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์การเคลื่อนไหวของอัตราส่วนทางการเงินของบริษัทก่อนและหลังประกอบกิจการทีวีดิจิตอล 2) เปรียบเทียบค่าความเสี่ยงของโอกาสล้มละลาย ของบริษัทก่อนและหลังประกอบกิจการทีวีดิจิตอล และ 3) เปรียบเทียบการเคลื่อนไหวของอัตราส่วนทางการเงินกับความเสี่ยงของโอกาสล้มละลายของบริษัทก่อนและหลังประกอบกิจการทีวีดิจิตอล ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การศึกษานี้ใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากงบการเงินรายไตรมาส ของ ปี 2555 - 2558 รวมเป็น 16 ไตรมาสของบริษัทที่ประกอบกิจการทีวีดิจิตอล ในกลุ่มอุตสาหกรรมสื่อและสิ่งพิมพ์ (Media) ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 8 บริษัท เพื่อนำมาวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของอัตราส่วนทางการเงินและวิเคราะห์ความเสี่ยงของโอกาสที่กิจการจะล้มละลาย โดยคำนวณหาค่าความเสี่ยงของโอกาสล้มละลาย จากแบบจำลอง EM-Score ตามแนวคิดของ Altman ผลการศึกษาพบว่า 1) อัตราส่วนทางการเงินของแต่ละบริษัทส่วนใหญ่หลังประกอบกิจการทีวี ดิจิตอลมีแนวโน้มแย่ลง ซึ่งได้แก่ อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการดำเนินงาน และอัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไรซึ่งมีแนวโน้มลดลง ขณะที่อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสิบทรัพย์รวมอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินไม่หมุนเวียนต่อสินทรัพย์รวม อัตราส่วนราคาต่อมูลค่าตามบัญชี และอัตราส่วนราคาต่อกำไร มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น 2) ค่า EM-Score ของทุกบริษัทในช่วงก่อนเข้าประกอบกิจการทีวีดิจิตอลอยู่ในเกณฑ์ที่ปลอดภัยจากการล้มละลาย (Sate Zone) และเมื่อเข้าประกอบกิจการทีวีดิจิตอลแล้ว ค่า EM-Score มีแนวโน้มลดลง และ 3) อัตราส่วนที่มีลักษณะการเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกันกับค่า EM-Score คือ อัตราส่วนทุนหมุนเวียน อัตราส่วนเงินสด อัตราการเคลื่อนไหวของเงินทุนหมุนเวียนสุทธิอัตราส่วนส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์รวม และกำไรต่อหุ้น ในขณะที่อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวมอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนหนี้สินไม่หมุนเวียนต่อสินทรัพย์รวม มีลักษณะของการเคลื่อนไหวไปในทิศทางตรงกันข้าม กับ ค่า EM-Scoreth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของอัตราส่วนทางการเงินกับความเสี่ยงของโอกาสล้มละลายของบริษัทที่ประกอบกิจการทีวีดิจิตอลในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeFinancial ratios movement analysis and bankruptcy risk of listed digital TV companies in the Stock Exchange of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: 1) to analyze the financial ratios movement before and after doing the business of digital TV companies; 2) to compare the bankruptcy risk before and after doing the business of digital TV companies: and 3) to compare the relationship between the financial ratios movement and the bankruptcy risk before and after doing the business of digital TV companies in the Stock Exchange of Thailand. The study employed secondary data of the financial statements in the period of 2012 to 2016 (total 16 quarters) of listed digital TV companies into media sector in the Stock Exchange of Thailand, a total of 8 companies. The analysis of financial ratios movement in a bankruptcy was involved, and the bankruptcy risk was calculated by Emerging Market Score Model of Altman. The study revealed that: 1) the financial ratios in term of liquidity ratios, activity ratios and profitability ratios were found in downtrend after doing the business of digital TV companies, however the debt to total asset ratio, debt to equity ratio, mortgage debt to property value ratio, price per book value ratio and price per profit ratio were seen in uptrend. 2) EM-Score of all companies before doing the business of digital TV companies was in the safe zone, and it was found their EM Score were decreased after doing the business of digital TV companies; and 3) the current ratios, cash ratios, net working capital ratio, equity to total asset ratio and earnings per share on common stock were represented in the same way with EM-Score while the financial ratios including the debt to total assets ratio, debt to equity ratio and mortgage debt to property value ratio were shown in the opposite direction with EM-Score.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_154912.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons