Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12503
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงกมล ปิ่นเฉลียว | th_TH |
dc.contributor.author | เตือนใจ แสร์สินธุ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-13T03:18:53Z | - |
dc.date.available | 2024-07-13T03:18:53Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12503 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ (2) เปรียบเทียบความแตกต่างของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ ระหว่างกลุ่มที่เป็นคณะกรรมการและไม่ได้เป็นคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพและกลุ่มที่ได้รับการอบรมและไม่ได้รับการอบรมการพัฒนาคุณภาพ (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพกลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 127 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสอบถามประกอบด้วย 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) กาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 3) การสนับสนุนจากหัวหน้าหอผู้ป่วย และ 4) การมีส่วนร่วมในการพัฒนา คุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามส่วนที่ 2, 3, และ 4 เท่ากับ 96,94 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (2) การมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลระหว่างกลุ่มที่เป็นคณะกรรมการและ ไม่เป็นกรรมการ พัฒนาคุณภาพ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (3) การมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลระหว่างกลุ่มที่ได้รับการอบรมและ ไม่ได้รับการอบรมการพัฒนาคุณภาพ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) อายุและระยะเวลาปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์ในระดับปานกลางกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล (r =42, = .34 ตามลำดับ) (5) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และการสนับสนุนจากหัวหน้าหอผู้ป่ายมีความสัมพันธ์ในระดับสูงกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล (r =.55, r =.53 ตามลำดับ) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--ไทย--ศรีสะเกษ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--การควบคุมคุณภาพ | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาล | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดศรีสะเกษ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to participation in hospital quality improvement of professional nurses in community hospital, Sisaket Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: (1) to study the level of participation in hospital quality improvement of professional nurses, (2) to compare participation in hospital quality improvement of professional nurses between groups of (a) committee members and non-committee members and (b) trained and untrained nurses, and (3) to study factors related to participation in hospital quality improvement of professional nurses. The sample comprised 127 professional nurses at community hospitals in Sisaket Province, and they were selected by the stratified random sampling technique . Data were collected by questionnaires which consisted of 1) personal factors, 2) transformation leadership of chief nurses, 3) support of chief nurses, and 4) professional participation in hospital quality improvement. The Cronbach’ s alpha reliability coefficients of sections 2, 3, and 4 were .96, .94 and .95 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, Person product moment correlation coefficient, and independent t-test. The research found as follows: (1) Professional nurses rated their participation in hospital quality improvement at the high level. (2) There was significant difference between groups of committee members and non- committee members (p <.05). (3) There was significant difference between groups of trained and untrained nurses(p <.05). (4) Participant’s age and work experience correlated moderately significantly (r=.42, r=.34) with participation in hospital quality improvement. Finally, (5) transformational with participation in hospital quality improvement . | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_138000.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License