Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12518
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวยth_TH
dc.contributor.authorเนาวรัตน์ บุญลิ่มเต็งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-13T07:55:50Z-
dc.date.available2024-07-13T07:55:50Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12518en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) ความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนและ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจยส่วนบุคคล ขนาดของทีมงานและความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา เป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผคุงครรภ์ชั้นหนึ่งที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดกระบี่ จำนวน 7 แห่ง จำนวน 152 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามความขัดเย้งของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ตามแนวคิดของราฮิม (Rahim, 2001) ซึ่งได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน และหาความเที่ยงของแบบสอบถามความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพ โดยคำนวณค่สัมประสิทธิ์ของครอนบาคได้เท่ากับ 0.82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแคว์ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ (M = 2.29, S.D. = 0.50 ด้านความขัดแข้งระดับบุคคล มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (M - 2.36, S.D.= 0.68) รองลงมาคือความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (M = 2.35, S.D.= 0.60) และความขัดแย้งภายในกลุ่มมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (M =2. 17, S.D. -0.57) 2) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ และระยะเวลาการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพในระดับต่ำมาก (r = 0.17 และ r = 0.18) ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนระดับการศึกษา และขนาดของทีมงานไม่มีความสัมพันธ์กับความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความขัดแย้งระหว่างบุคคลth_TH
dc.subjectพยาบาล--การทำงานเป็นทีมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ขนาดของทีมงานและความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบบาลชุมชนth_TH
dc.title.alternativeRelationships between personal factors, team size, and conflicts of professional nurses in community hospitalsth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to study conflicts of professional nurses at community hospitals in Krabi province and (2) to study the relationships between personal factors, team size, and conflicts of professional nurses. The sample of this study included 152 professional nurses worked at 7 community hospitals in Krabi province and they were selected by the stratified random sampling technique. Research tools included questionnaires of conflicts of professional nurses developed by Rahim (2001). The content validity of the questionnaires was verified by five experts. The Cronbarch’s alpha reliability coefficient of the questionnaires was 0.82. Research data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square, and Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The research findings were as follows. (1) Professional nurses rated their conflicts at the low level (M= 2.29, SD= 0.50. The highest conflict was intrapersonal conflict (M = 2.36, SD= 0.68) followed by intergroup conflict (M = 2.35, SD= 0.60), and intragroup conflict (M = 2.17, S.D.= 0.57) was the least respectively. (2) There was weak positive significant correlations between age, working time, and conflicts of professional nurses respectively (r = 0.17 and r = 0.18, p < .05). There was no significant relationship between an education level, a team size, and conflicts of professional nurses (r = 0.07, p > .05).en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_142797.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons