Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12521
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวยth_TH
dc.contributor.authorเบญจวรรณ นครพัฒน์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-13T08:13:32Z-
dc.date.available2024-07-13T08:13:32Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12521en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณภาพการบริการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์ 2) เปรียบเทียบคุณภาพการบริการพยาบาลระหว่างกลุ่มอายุของผู้ป่วย และ 3) เปรียบเทียบคุณภาพการบริการพยาบาลระหว่างแผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ จำนวน 90 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล และ 2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพการพยาบาลที่ผู้ป่วยได้รับ ซึ่งผ่านการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน โดยแบบสอบถามนี้มีค่าความตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.96 ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ .98 วิเคราะห์ ข้อมูล โดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสถิติที่แบบเป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพการบริการพยาบาลโดยรวมตามการรับรู้ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์อยู่ในระดับมาก 2) ผู้ป่วยมีการรับรู้คุณภาพการบริการพยาบาลไม่แตกต่างกันในช่วงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (0>.05) ยกเว้นด้านศิลปะการดูแลที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.05) และ 3) ผู้ป่วยมีการรับรู้คุณภาพการบริการพยาบาลไม่แตกต่างกันระหว่างแผนกป่วยในอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (0>.05 ยกเว้นด้านศิลปะการดูแลและการจัดสภาพแวดล้อมที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเครื่องช่วยหายใจth_TH
dc.subjectปอดอักเสบ--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.titleการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกในการป้องกันการเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ หอผู้ป่วยศัลยกรรมอุบัติเหตุและศัลยกรรมประสาท โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์th_TH
dc.title.alternativeThe development of clinical practice guidelines for ventilator-associated pneumonia prevention at Trauma and Neurological Ward in Chumphon Khet Udomsakdi Hospitalth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameปริญญา พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this participatory action research were: 1) to develop a clinical practice guideline (CPG) for preventing pneumonia from ventilators at the trauma and neurological ward in Chumphon Khet Udomsakdi Hospital, and 2) to study the effectiveness of applying the CPG for preventing pneumonia from ventilators at at this unit. Samples included two groups. The first group was 20 nursing staffs who worked at trauma and neurological ward during February to June 2012, and the second group was 79 patients who were admitted in this unit from April to June 2012 and who needed pressure control ventilators. Research tools consist of CPG for peventing pneumonia from ventilator at the trauma and neurological ward,observational recording form, satisfaction questionnaires and surveillance form. The process of this study consistof 4 phases : preparation phase, CPG developing phase , CPG tryout and evaluation. Data were analyzed by descriptive statistics and proportional test. The results were as follows.(1) The CPG for preventing pneumonia prevention comprised 7 activites: hand washing, mouth and teeth, cleaning, change and arrange in a proper position, feeding via a gastric tube, suction, ventilator weaning, care of endotracheal tube and mechanical ventilators. (2) The nursing staff right practice their nursing for this group of patients more significantly and correctly (90.35%) than before (64.07%) (p < 0.05) except weaning process. (3) The incidence rate of ventilator – associated pneumonia which was caused by ventilators after conducting CPG was significant by lower (0.00) than before (10.77) (p < 0.05). during 1,000 days of using ventilators. Finally (4) nurses rated their satisfaction on this CPG at the high level.en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_130678.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons