Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12532
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวภา ติอัชสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorกัญจน์ณัฏฐ์ วิมูลชาติ, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-07-15T03:30:55Z-
dc.date.available2024-07-15T03:30:55Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12532en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ปฏิบัติงาน และองค์การบริหารส่วน ตาบล (อบต. ) (2) การบริหารจัดการแผนงานและงบประมาณด้านสาธารณสุข (3) การบริหารจัดการหมู่บ้านจัดการสุขภาพ (4) ผลการปฏิบัติงานในการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ของอบต. และ (5) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษา การศึกษาใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสารวจแบบภาคตัดขวาง ประชากรคือพนักงานส่วนตาบลของ อบต. ขนาดกลางซึ่งรับผิดชอบงานด้านหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ในจังหวัดนครปฐม อบต. ละ 1 คน 90 แห่ง 90 คน ศึกษาทุกหน่วยของประชากร เครื่องมือที่ใช้สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ปฏิบัติงานของ อบต. และข้อมูลองค์การบริหารส่วนตาบล และแบบประเมินผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพในหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ตาม 5 หมวดตัวชี้วัด มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.9931 วิเคราะห์ข้อมูลเป็นความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ปฏิบัติงานเป็นเพศหญิงในสัดส่วนที่มากกว่าเพศชาย อายุเฉลี่ย 34.08 ปี ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาไม่สูงกว่าปริญญาตรี มีประสบการณ์การทางานหมู่บ้านจัดการสุขภาพเฉลี่ย 2.967 ปี ส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับการอบรมงานด้านหมู่บ้านจัดการสุขภาพ สัดส่วนของอบต. ที่รับผิดชอบจำนวนหมู่บ้าน 6 – 10 หมู่บ้าน มีสูงสุด ส่วนใหญ่ไม่มีส่วนสาธารณสุข ไม่เคยส่งบุคลากรเข้าอบรมงานด้านสาธารณสุขและไม่เคยสนับสนุนงบประมาณในการจัดการให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่บุคลากร (2) อบต. ส่วนใหญ่พิจารณาอนุมัติแผนงานโครงการด้านสาธารณสุขตามสภาพและความเร่งด่วนของปัญหา และจัดสรรงบประมาณทรัพยากร ตามความ สาคัญของแผนงาน (3) อบต. ส่วนใหญ่กำหนดนโยบายและจัดสรรงบประมาณสำหรับแผนพัฒนางานสาธารณสุข และจัดอบรมให้ความรู้สำหรับโครงการป้องกันและควบคุมโรคต่าง ๆ ยาเสพติด การอบรมความรู้ด้านสุขภาพให้แก่ อสม./ประชาชน และการออกกาลังกายในชุมชน (4) อบต. ส่วนใหญ่สนับสนุนงบประมาณ และการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชุมชนจัดขึ้นในหมู่บ้านจัดการสุขภาพ มีจานวนบุคลากรที่รับผิดชอบเฉลี่ย 1.5814 คน (5) อบต. ส่วนใหญ่มีผลการปฏิบัติงานหมู่บ้านจัดการสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ (6) เพศ การได้รับการอบรมและประสบการณ์การทางานหมู่บ้านจัดการสุขภาพ จานวนหมู่บ้านที่ อบต. รับผิดชอบ การจัดสรรงบประมาณสาหรับโครงการออกกาลังกาย การจัดบริการด้านสุขภาพ และการป้องกันยาเสพติด พบว่ามีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดการดาเนินงานพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทเมกิโกทรานส์ (ประเทศไทย) จำกัดth_TH
dc.subjectความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรมth_TH
dc.subjectการจัดการสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectอาชีวอนามัยth_TH
dc.titleคู่มือการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานสำหรับบริษัทเมอิโก ทรานส์ (ประเทศไทย) จำกัดth_TH
dc.title.alternativeEnvironment, occupational health and safety manual for Meiko Trans (Thailand) Co.,Ltd.th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_122362.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons