Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12537
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรณุการ์ ทองคำรอดth_TH
dc.contributor.authorพรพรรณ ตะคุนะth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-15T04:09:03Z-
dc.date.available2024-07-15T04:09:03Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12537en_US
dc.description.abstractการศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ) คุณภาพบริการการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอสอง จังหวัดแพร่ และ 2) คุณภาพบริการการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอสอง จังหวัดแพร่ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่มาใช้บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอสอง จังหวัดแพร่ ที่ใช้สิทธิบัตรภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จำนวน 381 คน ได้จากสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล และส่วนที่ 2 คุณภาพบริการการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า ชนิด 5 ระดับ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดขผู้ทรงกุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ได้ค่าความตรงเท่ากับ 0.94 และทดสอบความเที่ยง ได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบากเท่ากับ 0.98 วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที่ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพบริการการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอสอง จังหวัดแพร่ โดยรวมอยู่ในระดับสูง 2) ผู้ใช้บริการที่มีปัจจัยส่วนบุคคล ด้านรายได้แตกต่างกันมีการรับรู้คุณภาพบริการการพยาบาลที่แตกต่างกัน โดยผู้ไม่มีรายได้ มีการรับรู้คุณภาพบริการการพยาบาลสูงกว่าผู้มีรายได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนปัจจัยด้านเพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา อาชีพ และถิ่นที่อยู่อาศัยแตกต่างกันมีการรับรู้คุณภาพบริการการพยาบาลไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectการบริการพยาบาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleคุณภาพบริการการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอสอง จังหวัดแพร่th_TH
dc.title.alternativeNursing care quality as perceived by clients at Sub-district Health Promoting Hospitals, Song District, Phrae Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: 1) to study nursing care quality as perceived by clients at sub-district Health Promoting Hospitals, Song District, Phrae Province and 2) to explore nursing care quality as perceived by clients at sub-district Health Promoting Hospitals according to different personal factors. The sample was clients who received services at sub-district Health Promoting Hospitals, Song District, Phrae Province. The sample comprised of 381 clients who used the Universal Coverage card were selected by the stratified random sampling technique. The questionnaire was comprised of 2 sections: 1) demographic data and 2) nursing care quality as perceived by clients in sub-district Health Promoting Hospitals, and the questionnaire was five rating scale. The questionnaire was tested for validity by 3 experts. The content validity index was 0.94, and the Cronbachʾs alpha reliability coefficient was 0.98. Statistical devices used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and one way ANOVA. The findings were as follows. 1) The nursing care quality as perceived by clients at sub-district Health Promoting Hospitals was at the high level. 2 ) The nursing care quality perception score was significantly different concerning different incomes at the .05 level. The clients who had no income perceived higher nursing care quality than those who had. The nursing care quality perception scores were not different concerning gender, age, marital status, education, occupation, and resident area.en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_151521.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons