Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุขth_TH
dc.contributor.authorมยุรี ลีกำเนิดไทยth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-15T06:35:19Z-
dc.date.available2024-07-15T06:35:19Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12545-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาระดับสมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลปทุมธานี และ 2)เปรียบเทียบสมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในกลุ่มงานพยาบาลผู้ป่วยนอกกลุ่มงานพยาบาลผู้ป่วยใน และกลุ่มงานพยาบาลผู้ป่วยเฉพาะสาขากลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลปทุมธานี จำนวน 106 คน ได้จากสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic sampling) เครื่องมือที่ใช้วิจัยเป็นแบบสอบถาม แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ) ข้อมูลส่วนบุคคล2) สมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพ 5 ด้าน คือ ได้แก่ (1)ด้านความรู้ทางวัฒนธรรม (2) ด้านความตระหนักทางวัฒนธรรม (3) ด้านทักษะทางวัฒนธรรม(4) ด้านการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม และ (5) ด้านความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม เครื่องมือวิจัยผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่านและหาความเที่ยงของความรู้ทางวัฒนธรรมด้วยวิธีการของคูเดอร์ ริชาร์ดสันเท่ากับ 0.95 และความเที่ยงของสมรรถนะ 4 ด้านด้วขค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ0.82วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา (ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวผลการศึกษา 1) สมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.07 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.360)ความตระหนักทางวัฒนธรรม(ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.91ส่วนเบี่ยงเบนมาตร ฐานเท่ากับ 0.32) การปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม(ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.82ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.31) และ ทักษะทางวัฒนธรรม(ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.7รส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.27) อยู่ในระดับดีทั้งหมด แต่สมรรถนะด้านความรู้ทางวัฒนธรรมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.22 ส่วนเยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.67) 2)สมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพด้านความตระหนักทางวัฒนธรรมด้านทักษะ ทางวัฒนธรรมและด้านความปรารถนาที่จะมีสมรรถะทางวัฒนธรรมระหว่างกลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยนอก กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยในและกลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยเฉพาะสาขามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.0.5 แต่ด้านความรู้ทางวัฒนธรรมและด้านการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพth_TH
dc.subjectวัฒนธรรมth_TH
dc.titleสมรรถนะเชิงวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeCultural competence of professional nurses at Pathum Thani hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis Independent study was a descriptive study with the following purposes: 1) to study cultural competence of professional nurses at Pathumthani Hospital and 2) to compare cultural competence among professional nurses who worked for in-patient departments, out- patient departments, and special patient departments. The sample comprised 106 professional nurses who worked at Pathumthani Hospital. They were selected by systematic sampling .Questionnaires were used as research tools and comprised twos sections: 1) demographic data and 2) cultural competence including 5 dimensions (cultural knowledge, cultural awareness, cultural skills,cultural encounter, and cultural desire). The validity of the tools was verified by 3 experts. The reliabilities of cultural knowledge which was tested by KR-20 was 0.95; while the other 4 cultural competences which were tested by Cronbach’s alpha coefficients were 0.82. The collected data were analyzed by using descriptive statistics (frequency, percent, mean, and standard deviation),and one-way analysis of variance (ANOVA). The results illustrated as follows.1) Professional nurses rated their cultural desire (M =3.07,s= 0.36),cultural awareness (M=2.91,s = 0.32),cultural encounter (M =2.82,s=0.31), and cultural skills (M =2.75,s=0.27) at the high level; while they rated their cultural knowledge at the moderate level (M = 12.22,s = 2.67).2) Cultural awareness, cultural skills, and cultural encounter among professional nurses who worked for in-patient departments, out-patient departments, and special patient departments were significantly different at the level 0.05 whereas cultural knowledge and cultural desire was not significantly different.en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_140177.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons