Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12554
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มุกดา หนุ่ยศรี | th_TH |
dc.contributor.author | ยุพดี ธัมมิกะกุล | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-15T07:22:24Z | - |
dc.date.available | 2024-07-15T07:22:24Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12554 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดเพชรบุรี (2) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) อิทธิพลของการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพระดับชำนาญการ และพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ ที่มีประสบกรณ์การทำงานอย่างน้อย 1 ปี ไม่อยู่ในตำแหน่งผู้บริหารทางการพยาบาลและหัวหน้ำงาน สังกัดกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 128 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ และ ส่วนที่3 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และมีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 เท่ากับ 0.96 และ 0.94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาสถิติสหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การของพยาบาลวิชาชีพอยูในระดับ ปานกลาง และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพยาบาลวิชาชีพอยูในระดับสูง (2) ความ ยุติธรรมในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่า กับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = 0.26) และ (3) การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การด้านผลลัพธ์มี อิทธิพลต่อความผันแปรของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การร้อยละ 12.4 (R2= 0.124) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมองค์การ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาล | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง จังหวัดเพชรบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between organizational justice perception and organizational citizenship behavior of professional nurses at Medium Community Hospitals, Petchaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive study were: (1) to examine the organizational justice perception and organizational citizenship behavior of professional nurses at community hospitals, Petchaburi province, (2) to elaborate the relationship between organizational justice perception and organizational citizenship behavior of professional nurses, and (3) to identify the influence of organizational justice perception to the organizational citizenship behavior of professional nurses. The sample comprised of 128 experts and practical professional nurses who worked at medium community hospitals, Petchaburi province at least 1 year. Research instrument was a questionnaire consisting of 3part: personal factors, organizational justice perception, and organizational citizenship behavior of professional nurses. The questionnaires were tested for validity and reliability. The reliability of part 2 and part 3 were 0.96 and 0.94 respectively. The data were analyzed by descriptive statistics, Pearson product moment correlation, and Stepwise multiple regression analysis. The major findings were as follows: (1) Professional nurses percept on their organizational justice at the middle level, and their organizational citizenship behavior at the high level. (2) There were significant positive relationships at low level (r = 0.26) among organizational justice perception, and organizational citizenship behavior of professional nurses (p < 0.01). Finally, (3) the distributive justice accounted organizational citizenship behavior of professional nurses for 12.4% (R2= 0.124) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_140472.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License