Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1255
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุจิตรา นาวารัตน์, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-29T07:41:34Z-
dc.date.available2022-08-29T07:41:34Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1255-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการสารสนเทศด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติของผู้ปฏิบัติงานศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในจังหวัดกระบี่ (2) เปรียบเทียบความต้องการสารสนเทศด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติของผู้ปฏิบัติงานศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนใน จังหวัดกระบี่จําแนกตาม ตําแหน่งหน้าที่ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทํางานในการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย และ (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคความต้องการสารสนเทศด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติของ ผู้ปฏิบัติงานศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในจังหวัดกระบี่วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ผู้ปฏิบัติงานในศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในจังหวัดกระบี่ จํานวน 366 คน กลุ่มตัวอย่างจํานวน 330 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวเดียวและทดสอบรายคู่ตามวิธีการเชฟเฟ่ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้ปฏิบัติงานศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในจังหวัดกระบี่มีความต้องการสารสนเทศด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติ เรื่องการแจ้งเตือนภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉินในระดับมาก ( x = 4.29) รองลงมาเป็นการเตรียมพร้อมรับมือเรื่องพื้นที่เสี่ยงภัยและพื้นที่ปลอดภัย เส้นทางอพยพ และวิธีการอพยพ ( x = 4.14) และมีการเผยแพร่สารสนเทศผ่านสื่อมวลชน เช่น วิทยุ โทรทัศน์และหอเตือนภัย ( x = 4.00) (2) เปรียบเทียบความต้องการสารสนเทศจําแนกตามตําแหน่งหน้าที่ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทํางานพบว่ามีความต้องการสารสนเทศไม่แตกต่างกัน (3) ปัญหาและอุปสรรคของความต้องการสารสนเทศด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติในระดับมากคือ เนื้อหาของข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมีลักษณะเนื้อหาที่เป็นวิชาการมากเกินไป ( x = 3.56) รองลงมาคือความไม่ถูกต้องของข้อมูลและช่วงเวลาการเผยแพร่ไม่ทันต่อความต้องการ ( x = 3.50)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.6-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภัยธรรมชาติ--ไทย--กระบี่th_TH
dc.subjectแหล่งสารสนเทศ--แง่สิ่งแวดล้อมth_TH
dc.titleความต้องการสารสนเทศด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติของผู้ปฏิบัติงานศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในจังหวัดกระบี่th_TH
dc.title.alternativeNatural disaster information needs of workers at the Volunteer Civil Defense Center, Krabi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.6-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (20).pdfเอกสารฉบับเต็ม29.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons