Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12563
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพth_TH
dc.contributor.authorกัญญาภัทร สุขหนุน, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-07-15T08:23:25Z-
dc.date.available2024-07-15T08:23:25Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12563en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธีการอบผลิตภัณฑ์ระหว่างวิธีการอบโดยใช้เทคโนโลยีเดิมคือการใช้แก๊สแอลพีจี กับวิธีการอบโดยใช้เทคโนโลยีสะอาด คือ การใช้ความร้อนและการใช้แก๊สแอลพีจีร่วมกับความร้อนในการอบเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตจากการอบผลิตภัณฑ์ระหว่างการใช้เทคโนโลยีเดิมกับการใช้เทคโนโลยีสะอาด (3) เปรียบเทียบจำนวนผลิตภัณฑ์ที่ชำรุดระยะเวลาในการอบและต้นทุนการผลิตด้านเชื้อเพลิงระหว่างเทคโนโลยีดังกล่าว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ เตาอบผลิตภัณฑ์ที่ใช้แก๊ส แอลพีจี ในการอบผลิตภัณฑ์เตาอบผลิตภัณฑ์ที่ใช้ความร้อนในการอบผลิตภัณฑ์ และเตาอบผลิตภัณฑ์ที่ใช้แก๊สร่วมกับความร้อนในการอบผลิตภัณฑ์ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีละ 5 ซ้ำ สถิติที่ใช้สำหรับการเปรียบเทียบต้นทุนการผลิต คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและสถิติทดสอบเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประสิทธิภาพของวิธีการอบผลิตภัณฑ์ด้านต้นทุนการผลิต การใช้ความร้อนในการอบมีต้นทุนการผลิตต่ำที่สุด ด้านระยะเวลาในการอบ การใช้แก๊สในการอบและการใช้แก๊สบวกกับความร้อนในการอบใช้ระยะเวลาในการอบน้อยที่สุด และด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ การใช้แก๊สบวกกับความร้อนมีผลิตภัณฑ์ชำรุดน้อยที่สุด (2) เมื่อนำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ต้นทุนการผลิตลดลงจาก 2.13 บาทต่อชิ้นจากการใช้แก๊สแอลพีจี เป็น 1.04 บาทต่อชิ้นจากการใช้ความร้อนและ 1.96 บาทต่อชิ้นจากการใช้แก๊สแอลพีจีร่วมกับความร้อน เนื่องจากต้นทุนการผลิตคงที่ ดังนั้นเมื่อเพิ่มปริมาณการผลิตต้นทุนการผลิตจะลดลงเรื่อยๆ (3) มีจำนวนผลิตภัณฑ์ที่ชำรุดเฉลี่ยลดลงจากร้อยละ 5.81 จากการใช้แก๊สแอลพีจี เป็น 4.61 จากการใช้ความร้อนและ 4.05 จากการใช้แอลพีจีร่วมกับความร้อน ด้านระยะเวลาในการอบ การใช้แก๊สแอลพีจีในการอบและนาทีเปรียบเทียบการใช้ความร้อนอย่างเดียวใช้เวลาในการอบที่ 300 นาที และวิธีการใช้แก๊สแอลพีจีร่วมกับความร้อนสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงที่ใช้สำหรับอบผลิตภัณฑ์เดือนละประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ หรือคิดเป็นมูลค่าประมาณ 5 ล้านบาทth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสะอาดth_TH
dc.subjectเครื่องเคลือบดินเผา--การผลิตth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสะอาดในการผลิตเซรามิกth_TH
dc.title.alternativeClean technology applying for ceramics manufacturingth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_125783.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons