Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1256
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำรวย กมลายุตต์th_TH
dc.contributor.authorสิริรัต ไวรักษ์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-29T07:51:52Z-
dc.date.available2022-08-29T07:51:52Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1256en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคลังข้อมูลลูกค้าและใช้ เทคนิคการทำเหมืองข้อมูลเพื่อการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ซึ่งคลังข้อมูลที่พัฒนาขึ้นมาและนำไปวิเคราะห์เป็นข้อมูลผู้ป่วยนอกของทุกแผนก ดั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ.2554 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 โดยกระบวนการวิจัยแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนการพัฒนาคลังข้อมูลและส่วนการทำเหมืองข้อมูล การพัฒนาคลังข้อมูลใช้ซอฟดแวร์ไมโครซอฟท์เอสคิวแอลเซิร์ฟเวอร์ รุ่น 2000 และแบบจำลองคลังข้อมูลใช้โครงสร้างแบบดาว การนำเข้าข้อมูลสู่คลังข้อมูลใช้ซอฟต์แวร์ไมโครซอฟท์วิชวลสตูดิโอ 2005 สร้างกระบวนการอีทีแอลในการคัดกรอง จัดรูปแบบและนำเข้าข้อมูลจำนวน 696,457 เรคคอร์ด ส่วนการทำเหมืองข้อมูลใช้เทคนิคการจัดกลุ่มแบบเคมีนเพื่อจัดกลุ่มลูกค้าที่มาใช้บริการและเทคนิคการพยากรณ์อนุกรมเวลาเพื่อพยากรณ์จำนวนลูกค้าผู้มาใช้บริการ ผลการวิจัยคือ ลูกค้าที่มารับบริการสามารถจัดแบ่งออกเป็น 9 กลุ่มตามคุณลักษณะของลูกค้าทำให้ทราบความแตกด่างของลูกค้าแต่ละกลุ่มซึ่งข้อมูลกลุ่มลูกค้าที่ได้เป็นข้อมูลความรู้ใหม่ที่โรงพยาบาลแมคคอร์นิคไม่เคยทราบมาก่อน สามารถนำมาใช้ประโยชน์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจส่งเสริมการตลาด ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้เหมาะกับลูกค้าแต่ละกลุ่มเพื่อบริหารความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและจากการประเมินค่าความเชื่อมั่นผลลัพธ์ที่ได้มีค่าเท่ากับ 0.998 ซึ่งแสดงว่าผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถึอ ในส่วนของการพยากรณ์อนุกรมเวลาที่พยากรณ์จำนวนลูกค้าที่มาใช้บริการในอนาคต ประเมินผลโดยนำผลการพยากรณ์เปรียบเทียบกับจำนวนผู้มาใช้บริการจริงที่เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาเดียวกัน พบว่ามีค่าใกล้เคียงกันและมีแนวโนัมไปในทิศทางเดียวกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.319en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลแมคคอร์มิค--การบริหารth_TH
dc.subjectดาต้าไมนิงth_TH
dc.titleการพัฒนาคลังข้อมูลลูกค้าเพื่อการบริหารลูกค้าสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำเหมืองข้อมูล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลแมคคอร์มิค จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of customer data warehouse for customer relationship management using data mining technique : a case of McCormick Hospital, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.319-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study involves research and development. The purpose of the research was to develop a customer data warehouse using data mining techniques for customer relationship management. A data warehouse was developed and analyzed from the outpatient data of all departments from January 2011 to December 2013. The research process consisted of two parts: 1) development of the data warehouse 2) mining the data warehouse. The development of the customer data warehouse used Microsoft SQL Server 2000. The data warehouse model used a star schema. For loading data into the data warehouse, we used Microsoft Visual Studio 2005 in order to create an ETL process for data cleansing, and formatting, and for the importing of 696,457 records. The data mining used clustering techniques to group customer and time series techniques to predict numbers of customers. The clustering technique, which grouped customersinto 9 clusters according to their characteristics, resulted in new knowledge about customers. Executives of McCormick Hospital could use the results for supporting decision making, marketing promotion and activity promotion foreach customer group to manage customer relationships. Evaluation of the results is at 0.998, which means that the measurement tools were reliable. As for the time series technique which predicted the number of customers by comparison with the actual data, they were nearly the same number and the trend was in a similar direction.en_US
dc.contributor.coadvisorทนงศักดิ์ ศิริรัตน์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (21).pdfเอกสารฉบับเต็ม13.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons