Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12570
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล | th_TH |
dc.contributor.author | เรณู ขวัญยืน | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-15T08:57:01Z | - |
dc.date.available | 2024-07-15T08:57:01Z | - |
dc.date.issued | 2559 | en_US |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12570 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความเชื่อเกี่ยวกับการกินยาของพระสงฆ์อาพาธกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง อายุ ระดับการศึกษา ภูมิลำเนาระยะเวลาอาพาธ จำนวนของยาที่ได้รับ และการเกิดอาการไม่สุขสบายจากการใช้ยา กับความเชื่อเกี่ยวกับการกินยาของพระสงฆ์อาพาธกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่างได้แก่พระสงฆ์อาพาธด้วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่มารับบริการผู้ป่วยนอก ณ โรงพยาบาลสงฆ์ จำนวน 370 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และส่วนที่ 2 แบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับการกินยาฉบับภาษาไทย ของยศพล เหลืองโสมนภา ซึ่งพัฒนาจากแบบวัดของ ฮอร์นและคณะ วัดความเชื่อใน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ความเชื่อเกี่ยวกับการกินยาแบบเฉพาะ มี 2 ด้านคือ 1) การรับรู้ความจำเป็นต่อการกินยา 2) ความกังวลจากการกินยา และกลุ่มที่ 2 ความเชื่อเกี่ยวกับการกินยาแบบทั่วไป มี 2 ด้าน คือ 3) การใช้ยามากเกินไป และ4) อันตรายจากการกินยา เป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเที่ยงแบบสอบถามส่วนที่ 2 เท่ากับ 0.798 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการวิจัย พบว่า 1) ความเชื่อเกี่ยวกับการกินยาของพระสงฆ์อาพาธโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อยู่ในระดับไม่เหมาะสม ร้อยละ 56.20 รองลงมาคือระดับเหมาะสมมาก ร้อยละ 43.80 2) ระดับการศึกษา และการเกิดอาการไม่สุขสบายจากการใช้ยา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความเชื่อเกี่ยวกับการกินยาของพระสงฆ์อาพาธกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<.05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | เบาหวาน--ผู้ป่วย--การดูแล | th_TH |
dc.subject | ความดันเลือดสูง--ผู้ป่วย--การดูแล | th_TH |
dc.subject | การรักษาด้วยยา | th_TH |
dc.subject | สงฆ์--แง่อนามัย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาล | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่่อเกี่ยวกับการกินยาในพระสงฆ์อาพาธกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to beliefs about medicines among monks with non-communicable diseases | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This purposes of this descriptive study were: (1) to find the levels of beliefs about medicines and (2) to explore factors related to beliefs about medicines of monks with non communication disease. The sample comprised of 370 monks with diabetic insipidus and hypertension receiving outpatient services at the Priest Hospital. The research instrument was a questionnaire consisting two parts: 1) personal information and 2) Thai version of Beliefs about Medicines Questionnaire translated by Yosapon Leaungsomnapa and this questionnaire was modified from Beliefs about Medicines Questionnaire (BMQ) developed by Horn,et,al. The BMQ was distributed to 2 groups: group 1 responded to the specific beliefs about medicines questionnaire (BMQ-Specific) : including two factors: 1) specific – necessity and 2) specific – concern, group 2 responded to the general beliefs about medicines questionnaire (BMQ-General) including two factors: 3) general-overuse and 4) general-harm. The questionnaire was 5-point-Likert scale. The reliability of part 2 was 0.798. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and Spearman's correlation. The results revealed as follows. (1) About fifty six percent (56.2%) of monks with non-communicable diseases rated their beliefs about medicines at the lowest level and 43.80% rated at the highest level. (2) Education levels and discomfort of medication consuming significantly positively related to the beliefs about medicines of the monks (p < 0.05). Duration of illness significantly negatively related beliefs about medicines of the monks (p < 0.05). Age, quantity of medication consuming, and domicile had no relationship with the beliefs about medicines of the monks (p > 0.05). | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_155660.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License