Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12578
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัทยา แก้วสารth_TH
dc.contributor.authorวรรณวิมล ทุมมีth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-16T08:33:09Z-
dc.date.available2024-07-16T08:33:09Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12578en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การจัดการความปลอดภัยในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ และ 2 ปัจจัยที่สนับสนุนและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการจัดการความปลอดภัยในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลกาพสินธุ์กลุ่มศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัด โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป แบ่งเป็น 2 กลุ่มได้แก่ 1) กลุ่มตอบแบบสอบถามจำนวน 30 คน และ 2) กลุ่มสนทนาได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจงจากกลุ่มศึกษากลุ่มที่ 1 ซึ่งมีประสบการณ์ปฏิบัติงานห้องผ่าตัด ตั้งแต่10 ปีขึ้นไป จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง ตามแนวคิดขององค์กรด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยระดับชาติ ประเทศอังกฤษ ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดการความปลอดภัยในห้องผ่าตัด ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา และความเที่ยงมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ 100 และ 0.95 ตามลำดับ และ 2) แนวทางการสนทนากลุ่มมีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหาผลการศึกษาพบว่า 1) การจัดการความปลอดภัยในห้องผ่าตัดโดยรวมอยู่ในระดับสูง มาก 2) ปัจจัยที่สนับสนุนการจัดการความปลอดภัยในห้องผ่าตัด ประกอบด้วย (1) โครงสร้างห้อง ผ่าตัดที่มีมาตรฐาน (2) งบประมาณเพียงพอ (3) การสร้างขวัญและกําลังใจให้แก่บุคลากร และ (4) ทีมผ่าตัดที่มีประสิทธิภาพ ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการจัดการความปลอดภัยในห้องผ่าตัด มีดังนี้ (1) บุคลากรขาดความรู้ ประสบการณ์ความตระหนักในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัด (2) อัตรากําลังบุคลากรไม่เพียงพอ (3) นโยบายด้านการให้ข้อมูลและการสื่อสารไม่ชัดเจน และ (4) การขาดความร่วมมือของญาติและผู้ป่วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลกาฬสินธุ์--การจัดการth_TH
dc.subjectห้องผ่าตัด--มาตรการความปลอดภัยth_TH
dc.titleการจัดการความปลอดภัยในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลกาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeSafety management of the operative unit in Kalasin Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research aimed: 1) to explore safety management, and 2) to find factors related to safety management in the operative room unit at Kalasin Hospital. The participants were 3 0 professional nurses who worked more than one year in the operative room unit at Kalasin Hospital. They were divided into two groups. The first group (30 nurses) was asked to complete questionnaires. The other group (five out of thirty nurses) who had working experiences more than 10 years was selected by the purposive sampling technique and interviewed for group discussion. The researchers created two instruments by using the National Patient Safety Agency, 2004 guidelines. 1) Safety management questionnaires which were verified content validity by four experts and the content validity and Cronbach’s alpha reliability coefficient was 1.00 and 0.95 respectively. 2) Guidelines for group discussion which the validity was 0.97. Data were analyzed by using inferential statistic and content analysis. These study found that 1) lack knowledge and experiences of staff, (2) staff shortage, (3) unclear given information and communication policy, and (4) poor cooperation of clients and relatives.en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_150240.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons