Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12579
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรีth_TH
dc.contributor.authorลาวัลย์ เชยชมth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-16T08:43:14Z-
dc.date.available2024-07-16T08:43:14Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12579en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำและเปรียบเทียบสัดส่วนต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุและต้นทุนค่าลงทุนต่อการให้ยาเคมีบำบัดหนึ่งครั้งในหอผู้ป่วยสามัญหญิง 1 โรงพยาบาลมะเร็งลพบุรี ตั้งแต่แรกรับจนกระทั่งจำหน่าย และ 2)ต้นทุนกิจกรรมกรพยาบาลผู้ป่วยที่ ได้รับยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำ ระยะก่อนให้ยาเคมีบำบัด ขณะให้ ยาเคมีบัด และระยะหลังให้ยาเคมีบำบัด การวิเคราะห์ต้นทุนครั้งนี้ใช้แนวคิดระบบต้นทุนฐานกิจกรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ กิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำ ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2558 - 1 สิงหาคม 2558 ผู้ให้ข้อมูลเป็นบุคลากรทางการพยาบาลและผู้ป่วยที่ ได้รับยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดคำ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกกิจกรรมการพยาบาล แบบบันทึกเวลาและวัสดุที่ ใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล แบบบันทึกต้นทุนค่าแรงของบุคลากรพยาบาลแบบบันทึกต้นทุนค่าวัสดุ และต้นทุนค่าลงทุน รวมถึงนาฬิกาจับเวลา เครื่องมือที่สร้างขึ้นผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหา 0.80 ความเที่ยงจากการสังเกตตามแบบบันทึกกิจกรรมการพยาบาล 0.39 และความเที่ยงของนาฬิกาจับเวลา 1.00 วิคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) ต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาเกมีบำบัดทางหลอดเลือดคำ เท่ากับ 5,109.77 บาท ต่อคนต่อการรักษา 1 ครั้ง จำแนกเป็นต้นทุนคำแรง 2,137.10 บาทต้นทุนค่าวัสดุ 2,714.72 บาท ต้นทุนค่าลงทุน 237.95 บาท ตามลำดับ สัดส่วนต้นทุนค่าแรง : ค่าวัสดุ : ค่าลงทุน เท่ากับ 19.26 : 1.10 : และ 2) ต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยที่ ได้รับยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำ ประกอบด้วย ต้นทุนกิจกรรมพยาบาล 3 กิจกรรมหลัก ได้แก่ (1) ต้นทุนการดูแลในระยะก่อนให้ยาเคมีบำบัด 711.21 บาท (2) ขณะให้ยาเคมีบำบัด 4.162.38 บาท และ (3) ระยะหลังให้ยาเคมีบำบัด 236.18 บาท สัตส่วนต้นทุนระยะก่อนให้ยา : ขณะให้ยา : ระยะหลังให้ยา เท่ากับ 3.03 : 5.82 : 1th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหลอดเลือดดำ--โรคth_TH
dc.subjectการพยาบาล--ต้นทุนและประสิทธิผลth_TH
dc.subjectผู้ป่วย--ต้นทุนและประสิทธิผล.--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำในหอผู้ป่วยสามัญหญิง 1 โรงพยาบาลมะเร็งลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeCost analysis of the intravascular chemotherapy nursing activities in the woman general ward 1 at Lop Buri Cancer Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive research were: (1) to analyze the direct cost of the intravascular chemotherapy nursing activities and to study the proportion of labor cost, material cost, and capital cost in the Woman General Ward 1 at Lop buri Cancer Hospital and (2) to study the cost of nursing care in three stages: the pre- intravascular chemotherapy stage, during- the intravascular chemotherapy stage, and the post- intravascular chemotherapy stage. To analyze the cost, an activity-based costing system was used. The sample included nursing activities provided for patients with the intravascular chemotherapy during July 1 to August 1, 2015. Key informants comprised nursing personnel and patients treated by the Intravascular chemotherapy. Research tools included (1) a list of nursing activities, (2) a record form of time spent and materials used in nursing activities, and a record form of labor costs, material costs, and capital costs, and (3) a stop-watch. The content validity index of these instruments was 0.80. The inter rater reliability of observation and of stop-watch was 0.89 and 1.00 respectively . Data were analyzed by descriptive statistics: frequency, percent, mean, and standard deviation. The results of study revealed as follows. (1) The direct cost of nursing activities for patient treated by the Intravascular Chemotherapy was 5,109.77 Baht per case per one visit and was distributed between labor cost at 2,157.10 Baht, material cost at 2,714.72 Baht, and capital cost at 237.95 Baht. The proportion of labor cost, material cost, and capital cost was 19.26 : 1.10 : 1. (2) The direct cost of nursing activities for patient treated by the Intravascular Chemotherapy of nursing care in the pre- Intravascular Chemotherapy stage was 711.21 Baht, during the Intravascular Chemotherapy stage was 4,162.38 Baht, and the post- Intravascular Chemotherapy stage was 236.18 Baht. The proportion of the pre- Intravascular Chemotherapy cost, during the Intravascular Chemotherapy cost, the post- Intravascular Chemotherapy cost was 3.03 : 15.82 : 1en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_152249.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons