Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12602
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชาว์ โรจนแสง | th_TH |
dc.contributor.author | พัชร พิลึก | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-19T04:15:58Z | - |
dc.date.available | 2024-07-19T04:15:58Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12602 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (บธ.ด. (วิทยาการจัดการ)) -- มหาวิทยาลัยสุโทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับปัจจัยการตระหนักรู้ต่อตราสินค้า การเชื่อมโยงกับตราสินค้า การรับรู้คุณภาพตราสินค้า ส่วนประสมทางการตลาด และคุณค่าตราสินค้าข้าวอินทรีย์ไทย (2) วิเคราะห์อิทธิพลของการตระหนักรู้ต่อตราสินค้าที่มีต่อคุณค่าตราสินค้า (3) วิเคราะห์อิทธิพลของการเชื่อมโยงกับตราสินค้าที่มีอิทธิพลต่อคุณค่าตราสินค้า (4) วิเคราะห์อิทธิพลของการรับรู้คุณภาพตราสินค้าที่มีต่อคุณค่าตราสินค้า (5) วิเคราะห์อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดต่อคุณค่าตราสินค้าข้าวอินทรีย์ไทย และ (6) พัฒนารูปแบบกลยุทธ์คุณค่าตราสินค้าข้าวอินทรีย์ไทย ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยการตระหนักรู้ต่อตราสินค้า การเชื่อมโยงกับตราสินค้า การรับรู้คุณภาพตราสินค้า ส่วนประสมทางการตลาด และคุณค่าตราสินค้าข้าวอินทรีย์ของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมาก และมีการกระจายของข้อมูลน้อย โดยกลุ่มตัวอย่างสามารถจดจำตราสินค้าข้าวอินทรีย์ที่บริโภคได้ มีการเชื่อมโยงกับตราสินค้าจากประสบการณ์ที่ดีในการบริโภคข้าวอินทรีย์ และรับรู้คุณภาพตราสินค้าข้าวอินทรีย์จากคุณภาพของเมล็ดข้าว และการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ รวมถึงมีความต้องการข้าวที่มีคุณภาพที่ดี โดยมีความเชื่อมั่นในคุณภาพของข้าวอินทรีย์ตราที่บริโภคจากการมีตรารับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (2) ปัจจัยการตระหนักรู้ต่อตราสินค้ามีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อคุณค่าตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ปัจจัยการเชื่อมโยงกับตราสินค้ามีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อคุณค่าตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (4) ปัจจัยการรับรู้คุณภาพตราสินค้ามีอิทธิพลทางตรงต่อคุณค่าตราสินค้าอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แต่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อคุณค่าตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (5) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีอิทธิพลทางตรงต่อคุณค่าตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (6) รูปแบบกลยุทธ์คุณค่าตราสินค้าข้าวอินทรีย์ไทยที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยปัจจัยการตระหนักรู้ต่อตราสินค้า การเชื่อมโยงกับตราสินค้า การรับรู้คุณภาพตราสินค้า ส่วนประสมทางการตลาด และคุณค่าตราสินค้าโดยควรสร้างคุณค่าตราสินค้าจากความเชื่อมั่นในคุณภาพข้าวที่มีตรารับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ รวมถึงสร้างความระลึกถึงถึงตราสินค้าที่เชื่อมโยงกับความเป็นธรรมชาติ และการรับรู้คุณภาพตราสินค้าในด้านความปลอดภัยผ่านส่วนประสมทางการตลาดที่ตอบสนองความต้องการผู้บริโภคในการบริโภคข้าวอินทรีย์หลากหลายสายพันธุ์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ชื่อตราผลิตภัณฑ์--การตลาด | th_TH |
dc.subject | ข้าวอินทรีย์ | th_TH |
dc.subject | การส่งเสริมการขาย | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบกลยุทธ์คุณค่าตราสินค้าข้าวอินทรีย์ไทย | th_TH |
dc.title.alternative | The brand equity strategic model development of Thai Organic Rice | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to (1) examine brand awareness, brand association, brand perceived quality and brand equity (2) examine the direct and indirect effects between brand awareness and brand equity (3) examine the direct and indirect effects between brand association and brand equity (4) examine the direct and indirect effects between brand perceived quality and brand equity (5) examine the direct effects between marketing strategy and brand equity, and (6) develop the brand Equity Strategic Model of Thai Organic Rice. Mixed methods was included quantitative research, the population consisted of participants who consumed organic rice in Thailand. The sample size of 857 was determined on the basis of the required parameters between quantity of sample group and variables. In selecting individual members of the sample group, the researcher employed the multi-stage sampling method. The research instrument utilized to collect germane data was a questionnaire. The techniques of descriptive statistics and structural equation modeling (SEM) analysis were employed. In the qualitative research, the population consisted of participants who consumed organic rice more than 3 times per week. The sample group was determined on the basis of Grounded theory; relevant data were collected by means of in-depth interviewing of 72 participants. The data collected was analyzed by the content analysis method. Findings were as follows: (1) the brand awareness, brand association, brand perceived quality, market strategy and brand equity of organic rice in the samples were at a high level; however, the distribution of information was comparably at a lower level. (2) Brand awareness had a statistically significant direct and indirect effect on brand equity at the level of .05. (3) Brand association had statistically significant direct and indirect effects on brand equity at the level of .01. (4) Brand perceived quality had no statistically significant direct effect on brand equity; however, it did have a statistically significant indirect effect on brand equity at the level of .01. (5) Market strategy had statistically significant direct effect on brand equity at the level of .01. (6) Brand equity strategic model of Thai organic rice has developed brand awareness, brand association, brand perceived quality and brand Equity. This particular marketing strategy was hypothesized to have a mediating role: brand equity created high quality rice that was certified by the Organic Certification. Furthermore, this model was based on building a brand recall that was associated with being nature and a brand perceived quality in terms of safety through the marketing strategy, responding to the customer needs for the varieties of organic rice. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุภมาส อังศุโชติ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สุดาพร สาวม่วง | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 56.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License