Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12644
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบth_TH
dc.contributor.authorกฤษณะ สารานิกรณ์, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-07-29T08:47:35Z-
dc.date.available2024-07-29T08:47:35Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12644-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสุขในการทำงานของ บุคลากรในสำนักเครื่องจักรกล กรมชลประทาน (2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับความสุขของบุคลากรในสำนักเครื่องจักรกล กรมชลประทาน และ (3) เสนอแนะแนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มความสุขในการทำงานของบุคลากรในสำนักเครื่องจักรกล กรมชลประทาน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรได้แก่ บุคลากรในสำนักเครื่องจักรกล กรมชลประทาน จำนวน 862 คน ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 273 คน ตามสูตรของ ทาโร ยามาเน่ โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรในสำนักเครื่องจักรกล กรมชลประทาน มีระดับความสุขในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายโครงการพบว่า ทุก โครงการอยู่ในระดับปานกลาง โดยโครงการที่มีค่าเฉลี่ยระดับความสุขมากที่สุดได้แก่ โครงการ พัฒนาระบบสื่อสารภายในองค์การ รองลงมา คือ โครงการสุขภาพดีชีวิตมีสุข และโครงการ เสริมสร้างการทำงานเป็นทีม (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ อายุระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ที่แตกต่างกัน มีความสุขในการทำงานในภาพรวมไม่แตกต่างกัน ยกเว้นประเภทของบุคลากรที่ แตกต่างกัน มีความสุขในการทำงานในภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) บุคลากรในสำนักเครื่องจักรกล กรมชลประทาน มีค่าเฉลี่ยระดับความสุขในการ ทำงานน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับโครงการต่าง ๆ ที่จัดขึ้น ดังนั่นควรมีการปรับปรุงกิจกรรมของ โครงการนี้เป็นอันดับแรกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบุคลากร--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของบุคลากรสำนักเครื่องจักรกล กรมชลประทานth_TH
dc.title.alternativeFactors related to work happiness of staff in the Office of Mechanical Engineering, Royal Irrigation Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study are: (1) to study the work happiness level of staff in the Office of Mechanical Engineering, Royal Irrigation Department; (2) to study personal factors relate to the happiness of staff in the Office of Mechanical Engineering, Royal Irrigation Department; and (3) to suggest the management guidance for enhancing the happiness of staff in the Office of Mechanical Engineering, Royal Irrigation Department. This study was a survey research. Population was 862 staff in the Office of Mechanical Engineering, Royal Irrigation Department. The sample was 273 staff calculated by Yamane’s formula and used a simple sampling method. The data was collected by using a questionnaire and was analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and analysis of variance. The results show as follows: 1) Overall staff in the Office of Mechanical Engineering, Royal Irrigation Department have moderate level of work happiness. Every projects have the moderate level of happiness. An internal communication development project has the highest average level of happiness, follow by a healthy life project and a team building project, respectively. 2) Staff with different gender, age, educational background, monthly income have no difference of overall work happiness except different type of staff have different overall work happiness at 0.05 statistical significance. 3) Staff in the Office of Mechanical Engineering, Royal Irrigation Department have the least average work happiness comparing with other projects as a result, activities of projects should be improved firstlyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_152251.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons