Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12696
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ เข็มทองth_TH
dc.contributor.authorนันท์นภัส สรวมทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-08-21T07:46:26Z-
dc.date.available2024-08-21T07:46:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12696-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความสำคัญของนวัตกรรมองค์กรของห้างสรรพสินค้า ดิ เอ็มโพเรียม (2) เปรียบเทียบระดับความสำคัญของนวัตกรรมองค์กรของห้างสรรพสินค้าดิ เอ็มโพเรียม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ปัจจัยด้านสมรรถนะของผู้ให้บริการที่มีผลต่อนวัตกรรมองค์กรของห้างสรรพสินค้า ดิ เอ็มโพเรียม และ (4) ปัจจัยด้านจิตวิทยาของผู้ให้บริการที่มีผลต่อนวัตกรรมองค์กรของห้างสรรพสินค้า ดิ เอ็มโพเรียม การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ให้บริการของห้างสรรพสินค้า ดิ เอ็มโพเรียม ที่ให้บริการลูกค้าทั้งในส่วนหน้าและส่วนหลัง รวมทั้งสิ้น 667 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยการคำนวณจากสูตรของทาโร่ยามาเน่ ได้จำนวนตัวอย่าง 267 คน และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ให้บริการให้ความสำคัญต่อนวัตกรรมองค์กรของห้างสรรพสินค้าดิ เอ็ม โพเรียม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้ให้บริการให้ความสำคัญต่อนวัตกรรมด้านกระบวนการ และนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับมาก ส่วนนวัตกรรมด้านการบริการอยู่ในระดับปานกลาง (2) การเปรียบเทียบระดับความสำคัญของนวัตกรรมองค์กรตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าผู้ให้บริการที่มีอายุ และสังกัดหน่วยงานที่แตกต่างกันให้ความสำคัญต่อนวัตกรรมองค์กร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) สมรรถนะหลัก และสมรถถนะตามตำแหน่งงานมีผลต่อนวัตกรรมองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 สามารถร่วมกันพยากรณ์การผันแปรของนวัตกรรมองค์กรคิดเป็นร้อยละ 72 (4) ปัจจัยด้านจิตวิทยาเกี่ยวกับบุคลิกภาพ รูปแบบการดำเนินชีวิต และการรับรู้คุณค่ามีผลต่อนวัตกรรมองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 สามารถร่วมกันพยากรณ์การผันแปรของนวัตกรรมองค์กร คิดเป็นร้อยละ 78th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการสร้างความประทับใจ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectนวัตกรรมทางเทคโนโลยีth_TH
dc.subjectห้างสรรพสินค้าth_TH
dc.titleปัจจัยด้านสมรรถนะและจิตวิทยาของผู้ให้บริการที่มีผลต่อนวัตกรรมองค์กรของห้างสรรพสินค้า ดิ เอ็มโพเรียมth_TH
dc.title.alternativeCompetency and psychology factors of service providers affecting organization innovation at the Emporium Department Storeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the level of importance of organizational innovation at The Emporium Department Store; (2) to compare the level of importance of organizational innovation at The Emporium Department Store divided by personal factors; (3) to study competency factors of service providers that affect organizational innovation at The Emporium Department Store; and (4) to study psychological factors of service providers that affect organizational innovation at The Emporium Department Store. This was a quantitative survey research. The study population was service providers employed at The Emporium Department Store in Bangkok, comprising 667 sales floor and back-office personnel. Using the Taro Yamane method, a sample size of 267 was determined, and samples were chosen through stratified random sampling. The data collection tool was a questionnaire. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA and multiple regression analysis. The results showed that: (1) Overall, the majority of service providers put a high level of importance on organizational innovation at The Emporium. Broken down by category, they placed high importance on process innovation and product innovation, and placed medium importance on service innovation. (2) Comparing importance of organizational innovation by personal factors, service providers in different age categories and different work divisions gave different levels of importance to organizational innovation to a statistically significant degree at significance level 0.05. (3) Core competency factors and work position-specific competency factors had a statistically significant effect on level of importance of organizational innovation at significance level 0.05 and, taken together, could predict 72% of the variation in organizational innovation. (4) Psychological factors concerning personality, lifestyle and value perceptions affected organizational innovation to a statistically significant degree at significance level 0.05 and, taken together, could predict 78% of the variation in organizational innovation.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons