Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัยth_TH
dc.contributor.authorชนินทร คงพันธุ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-08-22T02:31:16Z-
dc.date.available2024-08-22T02:31:16Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12698en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการบริหารยุทธศาสตร์แบบบูรณาการของกรมทรัพยากรน้ำ (2) เปรียบเทียบการบริหารยุทธศาสตร์แบบบูรณาการของกรมทรัพยากรน้ำโดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารยุทธศาสตร์แบบบูรณาการของกรมทรัพยากรน้ำ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือบุคลากรของกรมทรัพยากรน้ำ จำนวนทั้งสิ้น 2,057 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างคำนวณตามสูตรทาโร่ยามาเน่ ได้จำนวน 345 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิเทียบสัดส่วนกลุ่ม เครื่องมือในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบมาตรฐาน โดยใช้สถิติค่าทีและค่าความแปรปรวน ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า (1) กรมทรัพยากรน้ำมีระดับการบริหารยุทธศาสตร์แบบบูรณาการโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ด้านการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี และด้านการประเมินแผนยุทธศาสตร์ พบว่า อยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ เงินเดือน ระดับการศึกษาประสบการณ์ในการปฏิบัติงานหรือระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารยุทธศาสตร์แบบบูรณาการของกรมทรัพยากรน้ำไม่แตกต่างกัน ยกเว้นประเภทบุคลากรหรือตำแหน่งงาน ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารยุทธศาสตร์แบบบูรณาการของกรมทรัพยากรน้ำแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) แนวทางการพัฒนาการบริหารยุทธศาสตร์แบบบูรณาการของกรมทรัพยากรน้ำ มี 3 แนวทาง ดังนี้ 1) ควรจัดสรรบุคลากรให้เหมาะสม สอดคล้องเพียงพอตามสายงาน พร้อมมีการถ่ายทอดองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่น 2) ควรเชื่อมโยงบูรณาการการทำงานของส่วนกลางและส่วนกลางที่ปฏิบัติงานในส่วนภูมิภาค และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน และ3) ควรมีความชัดเจนของภารกิจและกฎหมาย พร้อมรองรับในการปฏิบัติงาน เป็นต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectยุทธศาสตร์th_TH
dc.subjectน้ำ--การจัดการth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการบริหารยุทธศาสตร์แบบบูรณาการของกรมทรัพยากรนํ้าth_TH
dc.title.alternativeIntegrated strategic management of the Department of Water Resourcesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were : (1) to study the integrated strategic management level of the Department of Water Resources; (2) to compare the integrated strategic management of the Department of Water Resources classified by personal factors, and (3) to study the integrated strategic management development guidelines of the Department of Water Resources. This study was a quantitative research. The population was 2,057 government officials of the Department of Water Resources, The sample size was calculated according to Taro Yamane formula and obtained 345samples with proportional stratified random sampling. The research tool was a questionnaire. The statistics used for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and T-test and one-way ANOVA. The results of this study showed that (1) the Department of Water Resources has a integrated level of strategic management on a high level, and considering the aspects of situational analysis, strategic planning, preparation of annual government action plan and strategic plan assessment found at high level. (2) Personal factors consisted of gender, age, salary, education level, operational experience or operational duration that were different affecting to opinions on the integrated strategic management of the Department of Water Resources were not different. Exceptionally for different personnel types or positions affected to differed opinions on the integrated strategic management of the Department of Water Resources that had statistically significant at 0.05 Finally, the integrated strategic management development guidelines of the Department of Water Resources consisted of : 1) personnel should be allocated appropriately, consistently, adequately according to the line of work, with knowledge transfer from generation to generation, 2) should clearly link the integration of central and central functions operating in the region and other relevant agencies, and 3) should be clear of the mission and law, ready to support the operation, etc.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons