Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12704
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิปื สุนทรไชยth_TH
dc.contributor.authorธนาวุฒิ ไชยลังกา, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-08-22T04:22:58Z-
dc.date.available2024-08-22T04:22:58Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12704en_US
dc.description.abstractวิธีการการศึกษาเริ่มจากการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเซลล์แสงอาทิตย์จากสื่อต่าง ๆ เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด เซลล์แสงอาทิตย์นั้นมีอายุการใช้งานประมาณ 30 ปี และด้วยความต้องการใช้เซลล์แสงอาทิตย์ที่เพิ่มขึ้นอย่างทวีคูณ จำนวนซากเซลล์แสงอาทิตย์จะเพิ่มขึ้นมากเช่นกันหลังจากเซลล์แสงอาทิตย์เหล่านั้นเสื่อมสภาพหรือประสิทธิภาพการทำงานลดลง ซึ่งจะกลายมาเป็นของเสียอันตราย ซึ่งกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้จัดให้เป็นของเสียอันตรายแล้ว ซึ่งอาจจะเกิดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำคู่มือการจัดการของเสียจากเซลล์แสงอาทิตย์ เว็บไซต์ หนังสือ เอกสารคู่มือ วิทยานิพนธ์ จากนั้นจึงสืบค้นวิธีการจัดการของเสียแต่ละชนิดตามหลักวิชาการ ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากล แล้วจึงนำข้อมูลมาสังเคราะห์และเรียบเรียงจัดทำร่างคู่มือการจัดการของเสียจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทำการประเมินคุณภาพของคู่มือโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน นำผลการประเมินและข้อเสนอแนะที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขและจัดทำคู่มือฉบับสมบูรณ์ คู่มือประกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 5 บทคือ (1) เซลล์แสงอาทิตย์ และส่วนประกอบ (2) ปริมาณและผลกระทบจากซากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่เสื่อมสภาพ (3) สถานการณ์ของของเสียจากเซลล์แสงอาทิตย์และการกำจัด (4) แนวทางการจัดการและการรีไซเคิลแผงเซลล์แสงอาทิตย์ และ (5) ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์และบทสรุปของการจัดการของเสียจากเซลล์แสงอาทิตย์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการจัดการของเสียth_TH
dc.subjectพลังงานแสงอาทิตย์th_TH
dc.subjectเซลล์แสงอาทิตย์th_TH
dc.titleคู่มือการจัดการของเสียจากเซลล์แสงอาทิตย์th_TH
dc.title.alternativeManual on disposal of expired Solar cellsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativePhotovoltaic technology is one of the most environmentally friendly technologies. Solar cells have a lifetime of about 30 years with exponentially increasing demand. The number of solar cells also increases greatly after their deterioration or decreasing performance. Afterwards they become hazardous waste as classified by the Department of Industrial Works and affect human health and the environment. Therefore, the objective of independent study was to create a manual on disposal of expired solar cells. The manual preparation involved the review and collection of relevant information on solar cells in various media, websites, books, handbooks, theses, and disposal methods for each type of wastes according to technical principles, related laws, and quality systems based on international standards. After that, the information was synthesized and compiled as a draft manual on solar cell waste management. The draft manual was then assessed by three experts, whose recommendations were used to finalize the manual. The contents of the manual include five chapters: (1) Solar Cells and Their Components; (2) Quantities and Impact of Deteriorated Solar Panels; (3) Solar Panel Waste Situation and Disposal; (4) Guidelines for Solar Panel Waste Management and Recycling; and (5) Economic Worthiness and Summary of Solar Panel Waste Management.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168967.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons