Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12738
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรสวัสดิ์ ศรีสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorอาภา อติเปรมานนท์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-13T04:22:58Z-
dc.date.available2024-09-13T04:22:58Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12738en_US
dc.description.abstractการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้ามีประกอบด้วยขั้นตอนการก่อสร้างหลายขั้นตอนหากมีการบริหารจัดการความปลอดภัยที่ไม่ถูกต้อง อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน การจัดทำคู่มือความปลอดภัยการก่อสร้างรถไฟฟ้ามีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางการจัดการด้านความปลอดภัย ให้มีความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของบุคลากร ในด้านการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสามารถนาไปใช้ในการปฏิบัติงานอย่างถูกต้องและปลอดภัย ลดความเสี่ยงและอันตรายในการปฏิบัติงาน ในกระบวนการก่อสร้างรถไฟฟ้า วิธีการดำเนินการศึกษาได้ทำการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ประสบประการณ์ส่วนตัวที่ได้จากการทำงาน ตำรา เอกสารทางวิชาการ และฐานข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างรถไฟฟ้า นำข้อมูลมาทบทวน เรียบเรียง เป็นคู่มือความปลอดภัยในการก่อสร้างรถไฟฟ้า มีขั้นตอนการก่อสร้าง ดังนี้ (1) ปิดกั้นจราจรสำหรับพื้นที่ก่อสร้าง (2) รื้อย้ายสาธารณูปโภค (3) ฐานราก (4) ตอกเข็มพืด (5) ขนย้าย, ขนส่งวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง (6) เสาคอลัมน์ (7) คานขวาง (8) คานรองรับ และ (9) ติดตั้งผนังกั้นขอบทาง ที่ใช้เฉพาะสำหรับการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้า เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน จากนั้นทำการประเมินคู่มือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อพิจารณาตรวจสอบและให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาของคู่มือ ผลการศึกษาได้จัดทำคู่มือความปลอดภัยในการก่อสร้างรถไฟฟ้า มีเนื้อหา5 บทประกอบด้วย (1) บทนำ (2) กระบวนการก่อสร้างรถไฟฟ้าและการประเมินความเสี่ยง (3) ขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย (4) การดำเนินมาตรการด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและ (5) การตรวจความปลอดภัยในการก่อสร้างรถไฟฟ้าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectรถไฟฟ้า--ไทยth_TH
dc.subjectความปลอดภัยในงานก่อสร้างth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleคู่มือความปลอดภัยการก่อสร้างรถไฟฟ้าth_TH
dc.title.alternativeMethod statement for Electrical Railway Construction Safetyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeElectric rail or train construction involves many construction activities or steps. Improper safety management may cause adverse health effects and reduce safety at worksite. So, this study aimed to create a safety manual for the construction of electric rail projects to be used as safety management guidelines for their workers, thereby promoting safety at work and reducing risk and danger at construction sites. The study involves the collection of information or data on or from various personal work experiences, textbooks, technical documents, and internet databases related to electric rail construction. All information and data were reviewed; and it has been noted that the e-train construction procedures including: (1) traffic blocking of construction areas; (2) demolition of public utilities; (3) foundation works; (4) sheet piling; (5) moving/transporting construction materials and equipment; (6) column installation; (7) crossbeam installation; (8) segment installation; and (9) installation of the edges of parapet walls. Then, a safety manual was prepared and afterwards sent for experts’ review \and comments, with which the manual was finalized. The result of the study is the safety manual for electric train construction, consisting of five chapters: (1) Introduction; (2) Electric Rail Construction Process and Risk Assessment; (3) Safety Operation Procedures; (4) Implementation of Operational Safety Measures; and (5) Safety Inspections in Electric Rail Constructionen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161358.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons