Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12742
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภารดี เต็มเจริญth_TH
dc.contributor.authorอัสนะฮ์ สายวารี, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-09-13T06:37:47Z-
dc.date.available2024-09-13T06:37:47Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12742en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารฮาลาล (2) ศึกษาการประเมินตนเองด้านความเข้าใจในการประกอบธุรกิจอาหารฮาลาล และ (3) เปรียบเทียบความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารฮาลาล และการประเมินตนเองด้านความเข้าใจในการประกอบธุรกิจอาหารฮาลาล ระหว่างข้อมูลทั่วไปของนักศึกษามุสลิมวิชาเอกด้านอาหารและโภชนาการในวิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษามุสลิมวิชาเอกด้านอาหารและโภชนาการในวิทยาลัยอาชีวศึกษายะลาทั้งหมดจำนวน 158 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง ประกอบด้วยคำถามข้อมูลทั่วไปของนักศึกษา ความรู้เกี่ยวกับอาหารฮาลาล ความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารฮาลาล และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจอาหารฮาลาล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่โดยใช้วิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมากกว่าครึ่ง (ร้อยละ 67.7) มีความรู้เกี่ยวกับอาหารฮาลาลในระดับปานกลาง และร้อยละ 67.1 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารฮาลาลในระดับดี (2) กลุ่มตัวอย่างมากกว่าครึ่ง (ร้อยละ 61.4) มีความรู้ความเข้าใจในการประกอบธุรกิจอาหารฮาลาลในระดับมาก และ (3) นักศึกษาที่มีอายุ อาชีพของครอบครัว และชั้นปีที่แตกต่างกัน มีความรู้เกี่ยวกับอาหารฮาลาลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลth_TH
dc.titleความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารฮาลาล และการประเมินตนเองด้านความเข้าใจในการประกอบธุรกิจอาหารฮาลาลของนักศึกษามุสลิมวิชาเอกด้านอาหารและโภชนาการในวิทยาลัยอาชีวศึกษายะลาth_TH
dc.title.alternativeUnderstanding and opinion on halal foods and self-assessment of understanding on halal food business of Muslim students majoring in food and nutrition in Yala Vocational Collegeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study knowledge and opinion on halal food; (2) to study self-assessment of understanding on halal food business of students majoring in food and nutrition in Yala Vocational College, and (3) to compare knowledge and opinion on halal food, and self-assessment of understanding on halal food business among students’ general information. This research was a survey research. The samples were all 158 students majoring in food and nutrition in Yala Vocational College. The data were collected through self-administered questionnaires consisted of general information of students, knowledge on halal food, opinion on halal food, understanding on halal food business of students. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, independent t-test, One-way ANOVA and multiple comparison of Scheffe’s method. The findings found that: (1) most of the students (67.7%) had knowledge on halal food at the moderate level and had opinion on halal food (67.1%) at the good level, (2) most of the students (61.4%) had understanding on halal food business at the high level, and (3) there were significant different of knowledge on halal food among age groups, the families’ career, and education year of the students at p-value <0.5en_US
dc.contributor.coadvisorสำอาง สืบสมานth_TH
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons