Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12753
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
dc.contributor.author | ธณิศรา ลิมปกรณ์กุล | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-13T07:44:20Z | - |
dc.date.available | 2024-09-13T07:44:20Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12753 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นกึ่งทดลอง 1 กลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาชนิดและลักษณะของความคลาดเคลื่อนทางยาของงานบริการจ่ายยาแผนกผู้ป่วยนอกและใน 2) หาปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยาและ 3) เปรียบเทียบชนิด ลักษณะ ความคลาดเคลื่อนทางยาก่อนและหลังให้โปรแกรมการบริหารความเสี่ยงโรงพยาบาลเฉพาะทางด้านมะเร็งภาคใต้ ประชากรที่ศึกษาคือจำนวนใบสั่งยาทั้งปี จากงานบริการจ่ายยาแผนกผู้ป่วยนอก12,228 ใบ และผู้ป่วยใน 20,858 ใบ ในช่วงเวลา 1 ก.ค. -31 ธ.ค. 2558 กลุ่มตัวอย่างสุ่มแบบง่ายจำนวนใบสั่งยา จากแผนกผู้ป่วยนอก 3,040 ใบ และผู้ป่วยใน 5,026 ใบ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบฟอร์มและโปรแกรมบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยา และโปรแกรมบันทึกความเสี่ยงความคลาดเคลื่อนทางยาคุณภาพของเครื่องมือคือการควบคุมใบบันทึกการใช้ยาผู้ป่วยใน ทุกใบในระบบการจ่ายยามีกระบวนการดำเนินการเหมือนกันทุก สถิติที่ใช้คืออัตราส่วน และร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า 1) ในงานบริการจ่ายยาแผนกผู้ป่วยนอกและใน ทั้งก่อนและหลังให้โปรแกรมการบริหารความเสี่ยงเกิดจากกระบวนการก่อนจ่ายยามากที่สุด 2) ปัจจัยที่มากที่สุดที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนทางยาในทุกๆขั้นตอนคือไม่มีการตรวจสอบซ้ำ และ3) หลังให้โปรแกรมบริหารความเสี่ยงของงานบริการจ่ายยาแผนกผู้ป่วยนอกแล้วพบว่า ความคลาดเคลื่อนทางยาโดยรวมทุกขั้นตอนลดลงร้อยละ 30.40 การสั่งใช้ยา กระบวนการก่อนจ่ายยา การจ่ายยาลดลงร้อยละ21.98, 24.34 และ 56.68 ตามลำดับ ส่วนงานบริการจ่ายยาแผนกผู้ป่วยใน พบว่า ความคลาดเคลื่อนทางยาโดยรวมทุกขั้นตอนลดลงร้อยละ 52.86 จากการสั่งใช้ยาคัดลอกคำสั่งใช้ยากระบวนการก่อนจ่ายยาการจ่ายยาลดลงร้อยละ 70.10, 49.85, 46.22 และ 62.29 ตามลำดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ยา--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การบริหารความเสี่ยง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาล | th_TH |
dc.title | การบริหารความเสี่ยงความคลาดเคลื่อนทางยาในงานบริการจ่ายยาแผนกผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเฉพาะทางด้านมะเร็งภาคใต้ | th_TH |
dc.title.alternative | Risk management on medication errors for medication dispensing services of the Outpatient and the Inpatient departments in the Southern Cancer Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This one group pre-post, quasi-experimental study aims to 1) determine types and characteristics of errors for the Out-patient and the In-patient medication dispensing services; 2) analyze factors accounting for medication dispensing errors; and 3) compare characteristics of medication errors in drug dispensing services of the Out-patient and the In-patient Departments at pre- and post- implementations of the risk management program at the Southern Cancer Hospital. The population was the prescriptions issued between 1 July and 31 December 2015--12,228 for outpatients, and 20,858 for inpatients. A sample of 3,040 prescriptions was drawn by a random sampling technique. The research instruments were a medication errors record form, an incident occurrence report program, and a risk management on medication errors program. The reliability of the instrument was that all in-patient drug profiles were controlled for an identical process.. Ratios and percentage were used to analyze the data | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_150594.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License