Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลินth_TH
dc.contributor.authorพฤกษมนต์ อินตาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-13T08:20:05Z-
dc.date.available2024-09-13T08:20:05Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12759-
dc.description.abstractโรงพยาบาลดอยเต่าเป็นโรงพยาบาลชุมชนที่มีการใช้ยาต้านการแข็งตัวของเกร็ดเลือด (วาร์ฟาริน) เป็นจำนวนมาก และการปรับขนาดยามีความสำคัญต่อชีวิตผู้ป่วย เนื่องจากโรงพยาบาลนี้ มีการปรับขนาดยาไม่เป็นแนวทางเดียวกันตามมาตรฐานของสภาเภสัชกรรม จึงมีความจำเป็นต้อง จัดทำคู่มือการปรับขนาดยา สำหรับเภสัชกร คู่มือนี้เป็นคู่มือการปรับขนาดยาต้านการแข็งตัวของ เกล็ดเลือดสำหรับเภสัชกร: วาร์ฟาริน เป็นคู่มือสำหรับเภสชักรที่ใช้ปฏิบัติงานในการปรับขนาดยา ต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด (วาร์ฟาริน) ของผู้ป่วยตามคำสั่งการใช้ยาของแพทย์ เพื่อให้การปฏิบัติงาน การปรับขนาดยาต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด (วาร์ฟาริน) เป็นไปตามมาตรฐานของสภาเภสัชกรรม และเกิดความปอดภัยในชีวิตแก่ผู้ป่วย วัตถุประสงค์ ของการจัดทำคู่มือเพื่อให้เภสัชกร กลุ่มงาน เภสัชกรรมโรงพยาบาลดอยเต่าใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ การปรับขนาดยาต้านการแข็งตัวของ เกล็ดเลือด (วาร์ฟาริน) ในทิศทางเดียวกันและ ตามมาตรฐานของสภาเภสัชกรรม คู่มือนี้ประกอบด้วย 1. บทนำ 2. หลักการ ทฤษฎี และมาตรฐานงานทางเภสัชกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการปรับขนาดยาต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด (วาร์ฟาริน) ของเภสัชกร 3. ขั้นตอน การจัดทำคู่มือ 4. เนื้อหาคู่มือ ประโยชน์ของคู่มือนี้คือ เพื่อให้เภสัชกร กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลดอยเต่า มีการ ปฏิบัติ การปรับขนาดยาต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด (วาร์ฟาริน) ในทิศทางเดียวกันและตามมาตรฐาน ของสภาเภสัชกรรม ตามคำสั่งใช้ยาและแผนการรักษาของแพทย์ที่เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ป่วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectยา--ขนาดการใช้th_TH
dc.subjectวาร์ฟารินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.titleคู่มือการปรับขนาดยาต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือดสำหรับเภสัชกร : วาร์ฟาริน กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeA manual on anticoagulant drug (Warfarin) dose adjustments for pharmacists at Doitao Hospital, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeDoitao Hospital is a community hospital that uses the anticoagulant drug “warfarin” in many patients. It is very important for patient’s life to adjust the dose of this drug. Previously, warfarin dose adjustments were not undertaken in the same direction according to the standards of the Pharmacy Council. Thus, it is necessary to draw up a manual for adjusting the dose of such a drug for pharmacists as per the doctor’s prescription for patient safety and in line with the guidance of the Pharmacy Council. This manual will be used by pharmacists at the hospital. This manual had four parts: (1) introduction; (2) Principles, theories and standards for dose adjustment of anticoagulant drug (warfarin) for pharmacists; (3) Steps for developing the manual; and (4) Content of the manual. The benefit of this manual is for Doitao Hospital’s pharmacists to make warfarin dose adjustments in the same direction based on the criteria of the Pharmacy Council as per the doctor’s prescription and treatment plan for patient safetyen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_158451.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons