Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12762
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลินth_TH
dc.contributor.authorวริศรา เบ้านูth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-13T08:52:33Z-
dc.date.available2024-09-13T08:52:33Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12762-
dc.description.abstractการศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและการ รับบริการของผู้รับบริการที่งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลหนองคาย (2) ศึกษาระดับคุณภาพบริการ ตามความคาดหวัง (3) ระดับคุณภาพบริการตามการรับรู้ และ (4) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างระดับคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้ป่วยที่มารับบริการที่งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลหนองคาย จำนวน 4,620 คน กลุ่มอย่างสุ่มอย่างเป็นระบบ จำนวน 268 คน เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสอบถาม ประกอบด้วยปัจจัยส่วนบุคคลและคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ มีค่าความเที่ยง 0.989, 0.968 และ 0.878 ตามลำดับ มีค่าความตรง 0.89 สถิติที่ใช้คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 63.8 ระดับ ความรุนแรงของการเจ็บป่วยอยู่ตั้งแต่ระดับปานกลางจนถึงระดับมากที่สุดร้อยละ 75.7 ส่วนใหญ่มาใช้ บริการนอกเวลาราชการและได้กลับบ้านร้อยละ 66.8 และ 72.0 (2) ความคาดหวังต่อคุณภาพบริการ ทุกมิติในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (3) การรับรู้คุณภาพบริการ 4 มิติอยู่ในระดับมาก ยกเว้นมิติ ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ อยู่ในระดับปานกลาง และ (4) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ระดับคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ของผู้รับบริการพบว่า ในภาพรวมทุกมิติ มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนนความคาดหวังสูงกว่าการรับรู้ โดยเฉพาะ มิติด้านความเป็นรูปธรรมของบริการมีความแตกต่างกันสูงกว่ามิติอื่น และมิติด้านการตอบสนองต่อ ผู้รับบริการมีความแตกต่างต่ำกว่ามิติอื่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลหนองคาย--บริการพยาบาลฉุกเฉินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.titleคุณภาพบริการตามความคาดหวังและการรับรู้ของผู้รับบริการต่องานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลหนองคายth_TH
dc.title.alternativePatients’ expected and perceived service qualities at emergency unit, Nongkhai Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research aimed to: (1) identify patients’ personal factors; (2) determine the levels of patients’ expected service quality; (3) determine the levels of patients’ perceived service quality; and (4) compare the differences in patients’ expected and perceived service qualities, all at the emergency unit of Nongkhai Hospital. The study was conducted in a sample of 268 patients selected using the systematic sampling from 4,620 patients in the hospital’s emergency unit. Data were collected using a questionnaire covering questions on personal factors, expected service quality and perceived service quality, whose reliability values were 0.989, 0.968, and 0.878 respectively, and validity value was 0.89. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, and paired t-test. The results showed that: (1) of all participants, most of them or 63.8% were female, 75.7% presented with moderate to severe illnesses, 66.8% visited the unit after office hours, and 72.0% could go home after emergency treatment; (2) the levels of expected service quality – overall and for each dimension – were high; (3) the levels of perceived service quality in four dimensions were high, except that the responsiveness level was moderate; and (4) by comparison, the levels of expected and received service qualities in all dimensions were significantly different (p <.05). The expectation levels were higher than those for perception. In particular, the difference in the tangible dimension was greater than others, and that for responsiveness was lowesten_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_157140.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons