กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12763
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลินth_TH
dc.contributor.authorวริทธิ์ อนุชิราชีวะth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-16T02:49:03Z-
dc.date.available2024-09-16T02:49:03Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12763en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรโรงพยาบาลผู้สูงอายุแมคเคน (2) ระดับความสุขของบุคลากรโรงพยาบาลผู้สูงอายุแมคเคน ตามแนวคิดปัจจัยความสุข 8 มิติ (3) ระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร โรงพยาบาลผู้สูงอายุแมคเคน (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยความสุข 8 มิติ ที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากรโรงพยาบาลผู้สูงอายุแมคเคน และ (5) พยากรณ์ปัจจัยที่มีความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรโรงพยาบาลผู้สูงอายุแมคเคน ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลผู้สูงอายุแมคเคน โดยศึกษาทุกหน่วยประชากรจำนวน 117 คน เครื่องที่ใช้คือแบบสอบถามตามมาตรฐานของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ประกอบด้วย ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยความสุข 8 มิติ และความผูกพันต่อองค์กร ได้รับแบบสอบถามที่สมบูรณ์กลับคือมาทั้งสิ้น 103 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 88.03 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ไคสแควร์และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบ (1) บุคลากรของโรงพยาบาลผู้สูงอายุแมคเคน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 64.1 มีสถานภาพ แต่งงาน ร้อยละ 57.3 นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 54.4 เป็นบุคลากรระดับ ปฏิบัติการ ร้อยละ 80.6 (2) โดยภาพรวมปัจจัยความสุขอยู่ในระดับปานกลาง โดยปัจจัยความสุขมิติจิตวิญญาณดี มีค่าเฉลี่ยคะแนนสูงสุด (3) ระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรโรงพยาบาลผู้สูงอายุแมคเคนอยู่ในระดับสูง (4) ปัจจัยส่วนบุคคลเรื่องรายได้ต่อเดือน และปัจจัยความสุขในมิติผ่อนคลายดี มิติจิตวิญญาณดี มิติครอบครัวดี มิติสังคมดี และมิติใฝ่รู้ดี มีความสัมพันธ์ในทางบวกกับความผูกพันต่อองค์กร และ (5) ปัจจัยความสุขมิติจิตวิญญาณดีและปัจจัยความสุขมิติครอบครัวสามารถร่วมกันพยากรณ์ความผูกพันต่อองค์กรเพิ่มขึ้นได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสถาบันแมคเคนเพื่อการฟื้นฟูสภาพth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กรของโรงพยาบาลผู้สูงอายุแมคเคนth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting staff's organizational commitment at McKean Senior Health Care Hospitalth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research aimed to: (1) identify staff’s personal factors; (2) determine the levels of staff’s happiness based on the 8 dimensions of happiness; (3) determine the levels of staff’s organizational commitment; (4) explore the relationships between personal factors and happiness in 8 dimensions among staff; and (5) forecast factors affecting organizational commitment, all atMcKean Senior Health Care Hospital (in Chiang Mai province). The study was conducted in all 117 staff members of McKean Senior Health Care Hospital. Data were collected using a questionnaire prepared according to the one designed by the Institute of Population and Social Research at Mahidol University. The questionnaire covered questions on personal factors, 8 happiness dimensions and organizational commitment; and 103 completed questionnaires (88.03%) were returned. Percentage, mean, standard deviation, Chi-square, Pearson product-moment correlation were used in data analysis. The results showed that: (1) of all respondents, 64.1% were female, 57.3% were married, 54.4% were Christian, and 80.6% were operational-level staff; (2) their overall happiness was at a moderate level – the spiritual happiness having the highest average score; (3) staff’s organizational commitment was at a high level; (4) personal factors (monthly salary, good relaxation, good spirit, good family, good society and good knowledge-seeking ability were positively associated with organizational commitment; and (5) the happiness factors related to good spirit and family combined could predict a higher level of organizational commitmenten_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Health-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext_157893.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.94 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons