Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12764
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
dc.contributor.author | วสันต์ จันทา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-16T02:59:04Z | - |
dc.date.available | 2024-09-16T02:59:04Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12764 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดสองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อุบัติการณ์ และ2ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนจากการจ่ายยาในแผนกบริการเภสัชกรรมผู้ป่วยใน 2) เปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนจากการจ่ายยาก่อนและหลังดำเนินการใช้โปรแกรม ในแผนกบริการเภสัชกรรมผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ ภาคตะวันออกประชากรที่ศึกษา คือ ใบบันทึกการใช้ยาผู้ป่วยในทั้งหมด 18,503 ใบ ในวันและเวลาปฏิบัติราชการ ช่วงก่อนดำเนินการโปรแกรมฝึกอบรม (วันที่ 1 กันยายน 2558 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2559) คุณภาพของเครื่องมือคือการควบคุมใบบันทึกการใช้ยาผู้ป่วยใน ทุกใบในระบบการจ่ายยามีกระบวนการดำเนินการเหมือนกันทุกใบ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบบันทึกความคลาดเคลื่อนจากการจ่ายยา และโปรแกรมฝึกอบรมความคลาดเคลื่อนจากการจ่ายยา ประกอบด้วยโปรแกรมย่อย 3 ด้าน ได้แก่ กระบวนการทำงาน ผลิตภัณฑ์ และบุคลากร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า 1) ชนิดของความเคลื่อนจากการจ่ายยาทั้งในช่วงก่อนและหลังดำเนินการอุบัติการณ์ที่พบมากที่สุด คือ การไม่ได้จ่ายยาตามแพทย์สั่ง สาเหตุของความคลาดเคลื่อนจากการจ่ายยากระบวนการทำงาน บุคลากร และผลิตภัณฑ์ ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนคือ การปฏิบัติงานบกพร่อง ขั้นตอนปฏิบัติงานซับซ้อน และภาระงานที่มากเกินไป 2) เปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนจากการจ่ายยาก่อนและหลังดำเนินการใช้โปรแกรม พบการไม่ได้จ่ายยาตามแพทย์สั่งหลังดำเนินการโปรแกรมการฝึกอบรมความคลาดเคลื่อนลดลงจาก ร้อยละความคลาดเคลื่อนที่ลดลง 24.57 และ 3) พบว่า กระบวนการทำงาน ผลิตภัณฑ์ และบุคลากรลดลง การปฏิบัติงานบกพร่อง ขั้นตอน ปฏิบัติงานซับซ้อน และภาระงานที่มากเกินไปลดลง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ยา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาล | th_TH |
dc.title | ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนจากการจ่ายยาแผนกบริการเภสัชกรรมผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ ภาคตะวันออก | th_TH |
dc.title.alternative | Factors of medication dispensing error in the In-patient Pharmacy Section at the Naval Medical Department Hospital, Eastern Region | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this one group pretest-posttest, quasi-experimental research were to: 1) investigate types and identify causes of dispensing error at the In-patient Pharmacy Section at the Naval Medical Department Hospital, Eastern Thailand; and 2) compare pre- and post- implementations of the program for dispensing error prevention at the In-patient Pharmacy Section at the Naval Medical Department Hospital, Eastern Thailand. The study was conducted with 18,503 in-patient drug profiles collected from the In-patient Pharmacy Section during working hours on workdays from 1 September 2015 to 29 February 2016. The reliability of the instrument was that all in-patient drug profiles were controlled for an identical process. The research instruments were a record form of dispensing errors, and a program of dispensing error prevention, consisting of working process, product, and personnel. Mean, standard deviation, and percentage were used for data analysis. The results showed that: 1) the most commonly found error was due to the medications were not dispensed following the prescriptions; the causes of dispensing error were process, personnel, and product; factors of dispensing error were poor performance, complicated process, and heavy workload; 2) It was found that after implementation of the program for drug dispensing error prevention, the dispensing error due to not following the prescriptions dropped for 24.57%; and 3) After the implementation of the program for drug dispensing error prevention, it was also found that the errors of working process, product, and personnel decreased. That is, rates of poor performance, complicated process, and heavy workload dropped | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_150596.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License