Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12766
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
dc.contributor.author | ศรีสุข ขวัญคง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-16T03:19:44Z | - |
dc.date.available | 2024-09-16T03:19:44Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12766 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลผู้มาใช้บริการทันตกรรมของโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จังหวัดนราธิวาส 2) ระดับการรับรู้คุณภาพบริการทันตกรรมของผู้รับบริการ และ 3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้คุณภาพบริการทันตกรรมของโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จังหวัดนราธิวาส วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้รับบริการในเวลาราชการ กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มแบบง่ายจำนวน 355 คน โดยใช้แบบสอบถามประกอบ ด้วย ปัจจัยส่วนบุคคล และการรับรู้ต่อคุณภาพบริการหลังการรับบริการทันตกรรม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพรรณนาและ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ผู้รับบริการเข้าร่วมในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเพศหญิงร้อยละ 71.30 อายุเฉลี่ย 24 ปี ร้อยละ 89.30 ใช้สิทธิ์การรักษาแบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และร้อยละ 54.40 เคยมีประสบการณ์การรับบริการทันตกรรมที่โรงพยาบาลแห่งนี้ 2) ระดับการรับรู้คุณภาพบริการทันตกรรม ในภาพ รวมอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะในด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ อยู่ในระดับสูงกว่าทุกด้าน และ 3) ความคาดหวังต่อคุณภาพบริการทันตกรรมด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการและปัจจัยด้านรายได้ของผู้รับบริการ มีอิทธิพลต่อการรับรู้คุณภาพบริการทันตกรรมของผู้รับบริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา--ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | บริการทางทันตกรรมของโรงพยาบาล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาล | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้คุณภาพบริการทันตกรรมของผู้รับบริการโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จังหวัดนราธิวาส | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing the patients' dental service quality perception at the Yi-Ngo community hospital commemorating His Majesty the King's 80th Birthday Anniversary, Narathiwat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were to identify 1) personal factors of dental clients; 2) perceptions of the quality after receiving dental treatment; and 3) factors influencing dental service quality perceptions at the Yi – Ngo Community Hospital Commemorating His Majesty the King’s 80th Birthday Anniversary in Narathiwat Province. The study was conducted among a sample of 355 dental clients who attended the hospital’s dental clinic during office hours, selected using the simple random sampling method. Data were collected using a questionnaire for personal factors and perceptions of service quality after receiving dental treatment. Descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis were used for data analysis. The results showed that 1) Among the dental clients, most of them (71.30%) were female and 24 years of age on average; 89.30% were eligible for services under the Universal Health Coverage Scheme and more than half (54.40%) had ever had previous dental treatment at the hospital; 2) The participants had a high level of overall dental service quality perceptions, especially responsiveness; and 3) Clients’ expectations in dimensions of responsiveness and income significantly had an influence on their perceptions of dental service quality | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_153837.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License