Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12767
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
dc.contributor.author | สมร บุญวิสูตร | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-16T03:37:22Z | - |
dc.date.available | 2024-09-16T03:37:22Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12767 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจเพื่อศึกษา 1) ระดับปัจจัยส่วนบุคคล 2) ระดับปัจจัยทางการบริหาร 3) ระดับประสิทธิภาพงาน 4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับประสิทธิภาพงานบริหารเวชภัณฑ์ และ 5) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการบริหารกับประสิทธิภาพงานบริหารเวชภัณฑ์ของหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตอำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประชากรที่ใช้ศึกษาคือ เจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตอำเภอปากพะยูน ทั้งหมด จำนวน 76 คน เครื่องมือคือแบบสอบถาม ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 ปัจจัยทางการบริหารและส่วนที่ 3 ประสิทธิภาพงานบริหารเวชภัณฑ์ มีค่าความตรง 0.85 และค่าความเที่ยง 0.89 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1) ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 71.05 อายุเฉลี่ย 38.40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรีคิดเป็นร้อยละ 56.58 ดำรงตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขร้อยละ 43.42 อายุราชการระหว่าง 1-10 ปี ร้อยละ 36.84 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านอายุราชการอยู่ในระดับสูงสุด ค่าเฉลี่ย 3.37 2) ระดับปัจจัยทางการบริหารอยู่ในระดับสูงค่าเฉลี่ย 3.30 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านพัฒนาบุคลากรมีค่าเฉลี่ยสูงสุดค่าเฉลี่ย 3.57 3) ระดับประสิทธิภาพงานบริหารเวชภัณฑ์อยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านประสิทธิภาพการเบิกจ่ายเวชภัณฑ์อยู่ในระดับสูงสุด ค่าเฉลี่ย 3.08 4) ระดับปัจจัยส่วนบุคคลต่อประสิทธิภาพงานบริหารเวชภัณฑ์อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.27 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับประสิทธิภาพงานบริหารเวชภัณฑ์มีความสัมพันธ์ระดับสูงทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.001) และ 5) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการบริหารกับประสิทธิภาพงานบริหารเวชภัณฑ์มีความสัมพันธ์ระดับสูงทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001) ผลสำเร็จของการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปประกอบการตัดสินใจในการบริหารทรัพยากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานบริหารเวชภัณฑ์ของหน่วยปฐมภูมิให้เป็นไปตามมาตรฐานและสอดคล้องกับบริบทของแต่ละพื้นที่ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | เวชภัณฑ์--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาล | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยทางการบริหารกับประสิทธิภาพงานบริหารเวชภัณฑ์ของหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตอำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between personal and administrative factors and Pharmaceutical management effectiveness of Primary Care Units in Pakpayoon District, Phatthalung Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This survey research was to investigate: 1) level of personal factor; 2) level of administrative factor; 3) level of efficiency pharmaceutical management; 4) relationship between personal factor and pharmaceutical management effectiveness; and 5) Relationship between administrative factor and pharmaceutical management effectiveness of primary care units in Pakpayoon district , Phatthalung province. The study population was 76 staff working in the primary health care units in Pakpayoon district. A questionnaire, comprising three parts: personal factor, management factor, and pharmaceutical management effectiveness, was administered for data collection. Validity and reliability of the questionnaire were .85 and .89. Data were analyzed into frequency percentage, average, standard deviation, and Pearson's correlation coefficients. This research found that: 1) most participants were female (71.05%), with an average age of 38.40 years old, holding a bachelor's degree (56.58%), currently public health official (43.42%), in a group of 1-10 years of service (36.84%). The highest personal factor was years of service (M=3.27); 2) Regarding the administrative factor, it was at a high level (M=3.30). When inspecting individual factors, it was found that the highest average factor was staff development (M=3.57); 3) Regarding pharmaceutical management effectiveness, it was found at a high level. When inspecting individual factors, it was found that the highest average factor was dispensing factor (M=3.08); 4) Relationship between personal factor and pharmaceutical management effectiveness was at a high level (M=3.27). The personal factor was positively correlated with pharmaceutical management at a significant level (p < <0.001); and 5) Relationship between management factor and pharmaceutical management effectiveness was positively correlated at a significant level (p <0.001). Implication of the current study was that the findings could be used for decision making on resource management for pharmaceutical management effectiveness of the primary care units, in compliance with the standard and context | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_150595.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License