Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12768
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรทิพย์ กีระพงษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุจิรดา นาโควงษ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-16T03:46:37Z | - |
dc.date.available | 2024-09-16T03:46:37Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12768 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลด้านการปฏิบัติงาน และระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยโรงพยาบาลเอกชน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคล กับระดับคุณภาพชีวิตการทำงาน และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลด้านการปฏิบัติงาน กับระดับคุณภาพชีวิตการทำงานประชากรที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพทุกคนที่ปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย ได้รับการบรรจุเป็นพนักงานประจำ ตามระเบียบของโรงพยาบาล และระยะเวลาในการทำงาน อย่างน้อย 1 ปี ไม่อยู่ในระหว่างการลาคลอด และลาอื่นๆ ได้แก่ หัวหน้าหอผู้ป่วย รองหัวหน้าหอผู้ป่วย และพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ จำนวนทั้งหมด 95 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพบนหอผู้ป่วย ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า (1) พยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่ มีอายุระหว่าง20-29 ปี สถานภาพโสด รายได้ต่อเดือนประมาณ 30,000-39,999 บาท มีภาวะสุขภาพปกติ มีระยะเวลาที่ปฏิบัติงานอยู่ระหว่าง 1-5 ปี ส่วนใหญ่ปฏิบัติงานในแผนกผู้ป่วยใน ปฏิบัติงานขึ้นเวรเช้า/บ่าย/ดึก สลับกัน มีปริมาณภาระงานในหน้าที่เหมาะสม และคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพบนหอผู้ป่วย โรงพยาบาลเอกชน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส รายได้ต่อเดือน ภาวะสุขภาพ ปัจจุบันไม่มีความสัมพันธ์กับระดับคุณภาพชีวิตการทำงาน และ (3) ปัจจัยด้านการปฏิบัติงาน ได้แก่ ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล แผนกที่ปฏิบัติงาน ลักษณะงานขึ้นเวรเช้า/บ่าย/ดึก และปริมาณ ภาระงานในหน้าที่ ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับคุณภาพชีวิตการทำงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน--ไทย | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลเอกชน--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาล | th_TH |
dc.title | คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง | th_TH |
dc.title.alternative | Quality of work life or registered nurses at a private hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent study aimed to: (1) identify personal factors, operation factors, and the quality of work life; (2) determine the relationship between personal factors and the quality of work life; and (3) determine the relationship between operation factors and the quality of work life, among registered nurses working on inpatient wards at a private hospital in Thailand. The study was conducted in 95 registered nurses, who had been formally employed by the hospital for at least one year, working on the wards, not on maternity or any other leave, including head nurses, deputy head nurses and all other nurses. Data on nurses’ quality of work life were collected using a questionnaire, whose reliability value was 0.96, and then analyzed to determine means, standard deviation and chi-square value. The results showed that, among the respondents: (1) most of them were 20–29 years old and single, had a monthly income of 30,000–39,999 baht and normal health conditions, had been working for 1–5 years in the inpatient department each day on a morning, afternoon or night shift, and had a reasonable workload and a very high level of work-life quality; (2) their quality of work life was not associated with personal factors, i.e. age, marital status, monthly income, and current health status; and (3) their quality of work life was not associated with operation factors, including years of service at the hospital, the department in which they worked, morning/afternoon/night shift work, and workload | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_152083.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License