Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12772
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐพร เห็นเจริญเลิศ | th_TH |
dc.contributor.author | กัญญาภัทร สุขแก้ว | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-16T08:27:38Z | - |
dc.date.available | 2024-09-16T08:27:38Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12772 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมในการปลูกพืชเสริม รายได้เกษตรกรจังหวัดพังงา ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ พืชที่นำมาวิเคราะห์ประกอบด้วย มะพร้าว กาแฟ และสับปะรด โดยใช้หลักการจำแนกของ FAO Framework (1983) แบ่งกลุ่มย่อย ตามระดับความเหมาะสมออกเป็น 4 ชั้น (Class) คือ ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) ชั้นความเหมาะสม ปานกลาง (S2) ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) และชั้นไม่มีความเหมาะสม (N) และ (2) วางแผนการ ใช้ประโยชน์ที่ดินในการปลูกพืชเพื่อเสริมรายได้ให้กับเกษตรกรของจังหวัดพังงา ผลการศึกษาพบว่า สับปะรด มีพื้นที่เหมาะสมมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 16.96 หรือ 195,578 ไร่ ของเนื้อที่จังหวัดพังงา ถัดมาเป็นมะพร้าว มีพื้นที่เหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 0.51 หรือ 5,898 ไร่ ของเนื้อที่จังหวัดพังงา ส่วนกาแฟ มีพื้นที่เหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 0.02 หรือ 265 ไร่ ของเนื้อที่จังหวัดพังงา และสามารถวางแผนการปลูกพืชเสริมรายได้ให้กับเกษตรกร โดยแบ่งชั้น ความเหมาะสมของดินออกเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพและเหมาะสม ( S1 และ S2) ส่งเสริมให้เกษตรกร ปลูกพืชเพื่อเสริมรายได้ในครัวเรือน ส่วนพื้นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) แนะนำให้ เกษตรกรลดพื้นที่ปลูกยางพารา โดยปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นที่มีความเหมาะสมกับสภาพ พื้นที่และความต้องการของตลาด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | th_TH |
dc.subject | การปลูกพืช--การวางแผน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร | th_TH |
dc.title | การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวางแผนปลูกพืชเพื่อเสริมรายได้เกษตรกรของจังหวัดพังงา | th_TH |
dc.title.alternative | Application of GIS in planning crop to supplement farm income in Phang Nga Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to analyze areas suitable for growing crops to supplement farmer income of Phang Nga province by using GIS. The plants for analyzed were coconut, coffee and pineapple and analyzed on the basis of the FAO framework (1983). According to FAO framework divided the soil groups appropriate level into fourth class were : highly suitable (S1) , moderately suitable (S2) , marginally suitable (S3) and not suitable (N). (2) Land use planning to grow crops to supplement farmer’s income of Phang Nga Province . The study indicated that pineapple was highly suitable 16.96 percent or 195,578 rai of area in Phang Nga province. Next coconut was suitable 0.51 percent or 5,898 rai of area in Phang Nga province and coffee was suitable 0.02 percent or 265 rai of area in Phang Nga province. And in planning crop to supplement farm income classifying soil suitable into potential and suitable area (S1,S2) encourages famers to grow crops to supplement house income. For not suitable area (S3,N) suggest that famers reduce plant rubber and substitute other crops that are suitable for area and market | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_153853.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License