Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12778
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภา เจริญภัณฑารักษ์th_TH
dc.contributor.authorนิตยา สิงไทยสงค์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.date.accessioned2024-09-17T02:39:57Z-
dc.date.available2024-09-17T02:39:57Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12778-
dc.description.abstractในการพัฒนาซอฟต์แวร์จำเป็นต้องมีกระบวนการติดตามและควบคุมคุณภาพของซอฟต์แวร์ ดังนั้น มาตรฐาน ISO/IEC 29110 จึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการดำเนินโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อให้มีคุณภาพ โดยโครงการ นี้มีวัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ในการรองรับการตรวจสอบและควบคุม คุณภาพตามมาตรฐาน ISO/IEC 29110 ระดับ Basic Profile สำหรับองค์กรที่เป็นผู้ให้บริการพัฒนาซอฟต์แวร์ SME ของ ไทยที่มีบุคลากรด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ไม่เกิน 25 คน (2) เพื่อพัฒนาต้นแบบระบบตรวจสอบการพัฒนาซอฟต์แวร์และ ระบบควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร์ตามแนวมาตรฐาน ISO/IEC 29110 ระดับ Basic Profile การดำเนินงานประกอบด้วย (1) ศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของระบบมาตรฐาน ISO/IEC 29110 ระดับ Basic Profile (2) รวบรวมข้อมูลจากองค์กรตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ให้บริการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ผ่านการประเมินและได้รับการ รับรองมาตรฐาน ISO/IEC 29110(3) พัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร์ตามมาตรฐาน ISO/IEC 29110 ระดับ Basic Profileสำหรับองค์กรผู้ให้บริการพัฒนาซอฟต์แวร์ SME ของไทย (4) พัฒนาต้นแบบระบบ ตรวจสอบการพัฒนาซอฟต์แวร์และระบบควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร์ตามมาตรฐาน ISO/IEC 29110ระดับ Basic Profile (5) ประเมินผลการพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีและต้นแบบระบบ ฯ ที่พัฒนาขึ้น (6) สรุปผลที่ได้จากการดำเนินงานและจัดทำ ข้อเสนอแนะ ผลที่ได้รับจากการดำเนินงานคือ (1) แนวปฏิบัติที่ดีด้านการตรวจสอบการพัฒนาซอฟต์แวร์และควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร์ตามมาตรฐาน ISO/IEC 29110 ระดับ Basic Profile ในรูปแบบ Checklist สำหรับการประเมินตนเอง (Self-Assessment) ตามกรอบมาตรมาตรฐาน ISO/IEC 29110เพื่อจะเป็นประโยชน์สำหรับองค์กรผู้ให้บริการพัฒนา ซอฟต์แวร์ SME ของไทยหรือผู้ที่สนใจจะสามารถใช้แนวปฏิบัติฯที่จัดทำขึ้นเป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการ ดำเนินงานด้านการตรวจสอบการพัฒนาซอฟต์แวร์และควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร์ตามมาตรฐาน ISO/IEC 29110 ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น (2) ต้นแบบระบบตรวจสอบการพัฒนาซอฟต์แวร์และระบบควบคุมคุณภาพ ซอฟต์แวร์ตามมาตรฐาน ISO/IEC 29110ที่พัฒนาขึ้นนั้น องค์กรผู้ให้บริการพัฒนาซอฟต์แวร์ SME ของไทยสามารถ นำไปใช้เป็นเครื่องมือสำหรับควบคุมคุณภาพในการดำเนินงานพัฒนาซอฟต์แวร์ให้ได้ตามมาตรฐาน อีกทั้งยังเป็นการ ตอบสนองนโยบายของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในการยกระดับคุณภาพกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ของผู้ ให้บริการพัฒนาซอฟต์แวร์ SME ของไทยให้มีมาตรฐานสู่ระดับสากลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารth_TH
dc.subjectซอฟต์แวร์--การควบคุมคุณภาพ--มาตรฐานth_TH
dc.subjectซอฟต์แวร์--การพัฒนาth_TH
dc.titleการพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีและต้นแบบระบบตรวจสอบการพัฒนาซอฟต์แวร์และระบบควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร์ตามมาตรฐาน ISO/IEC 29110 ระดับ basic profileth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of best practice and a prototype of software development tracking system and software quality control system based on ISO/IEC 29110 standard, basic profileen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeIn software development processes, tracking system and software quality control are major concerns to achieve software development quality. Therefore, ISO/IEC 29110 is an important toolfor software development processes improvement. Objectives of this project were as follows: (1) To develop the best practice guidelines for software development tracking and software quality control based on ISO/IEC 29110 standard, Basic Profile for Small and Medium Enterprise (SME) of Thai software firm, which had no more than 25 staffs in the firm (2) To develop aprototype of software development tracking system and software quality control system based on ISO/IEC 29110 standard, Basic Profile. The project methodology consisted of the followings: (1) To review the literature of ISO/IEC 29110 standard, Basic Profile (2) To gather information from executive of a company in Thailand that had been assessed and certified ISO/IEC 29110 standard, Basic Profile (3) To develop best practice guidelines for software development tracking and software quality control based on ISO/IEC 29110 standard, Basic Profile for SME of Thai software firm (4) To develop a prototype of software development tracking system and software quality control system based on ISO/IEC 29110 standard, Basic Profile (5) To evaluate the developed best practice guidelines and the prototype of software development tracking system and software quality control system based on ISO/IEC 29110 standard, Basic Profile from the SME of Thai software firm that had been assessed and certified ISO/IEC 29110 standard, basic profile (6) To summarize result of the project and gave recommendations. The results of the project were: (1) Best practice guidelines for software development tracking and software quality control based on ISO/IEC 29110 standard, Basic Profile as checklist for self-assessment for SME of Thai software firm to improve their software development processes and quality based on ISO/IEC 29110standard more efficiently and effectively (2) A prototype of software development tracking system and software quality control system based on ISO/IEC 29110 standard, Basic Profile, which could be servedas a tool for SME of Thai software firm during software development process to track and control quality of software based on ISO/IEC 29110 Standard. In addition, results of the project will supportThai Software Industry Policy for Thai SME software firm quality to meetglobal standarden_US
Appears in Collections:Science Tech - Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_145753.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons