Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12785
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวฤษาย์ ร่มสายหยุดth_TH
dc.contributor.authorภราดร ศรีอาวุธ, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.date.accessioned2024-09-17T06:33:30Z-
dc.date.available2024-09-17T06:33:30Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12785en_US
dc.description.abstractบมจ. กสท โทรคมนาคม มีบริการโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต หรือวีโอไอพี (VoIP: Voice over IP) ที่เรียกว่าแคททูคอลพลัส (CAT2Call Plus) ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถเลือกใช้งานได้กับอุปกรณ์รูปแบบต่างๆ เช่นอุปกรณ์แปลงสัญญาณ เครื่องโทรศัพท์ ไอพี-โฟน โปรแกรมซอฟต์โฟน หรือติดตั้งแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนและสามารถใช้กับตู้สาขาได้ ในปัจจุบันบอร์ดราสเบอร์รี่ พายที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เนื่องจากมีฟังก์ชันที่หลากหลาย งานวิจัยนี้จึงนำเสนอการประยุกต์ไอพีพีบีเอกซ์โดยใช้บอร์ดราสเบอร์รี่พายเพื่อสนับสนุนการให้บริการธุรกิจของแคททูคอลพลัส วิธีการวิจัยประกอบด้วย 3 วิธีหลัก (1) ออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบไอพีพีบีเอกซ์ โดยใช้ซอฟต์แวร์แอสเทอริสค์บนบอร์ดราสเบอร์รี่พายโดยใช้งานร่วมกับหมายเลขของ แคททู คอลพลัส (2) พัฒนาฟังก์ชันการทำงานของระบบโทรศัพท์ไอพีพีบีเอกซ์ และ (3) เชื่อมต่อระบบไอ พีพีบีเอกซ์กับระบบเครือข่าย โดยครอบคลุม การโทรหากันภายในเครือข่ายแลน แลนไร้สายและการโทรหากันระหว่างสาขาผ่านอินทราเน็ตองค์กรและเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สรุปการศึกษาดำเนินการทดลอง (1) ระบบไอพีพีบีเอกซ์โดยใช้ซอฟต์แวร์ แอสเทอริสค์ เพื่อให้ทำงานบนบอร์ดราสเบอร์รี่พาย สามารถใช้งานร่วมกับการใช้หมายเลขของแคททูคอลพลัสได้อย่างดี อย่างไรก็ตามผลเปรียบเทียบกับการทำงานบนเครื่องแม่ข่าย คุณภาพการโทรโดยรวมไม่แตกต่างกันมากเมื่อทดสอบในระบบเครือข่าย เวลา และอุปกรณ์เดียวกัน (2) ระบบสามารถสนองคุณสมบัติพื้นฐาน ได้แก่ การโทรเข้า การโทรออก การโอนสาย และการตรวจสอบข้อมูลการโทรได้ (3) ระบบสามารถลดค่าใช้จ่าย มีความยืดหยุ่น และประหยัดพลังงานไฟฟ้าอีกด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectไอพีพีบีเอกซ์th_TH
dc.subjectโทรศัพท์th_TH
dc.subjectการใช้บริการโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารth_TH
dc.titleการประยุกต์ไอพีพีบีเอกซ์โดยใช้บอร์ดราสเบอร์รี่พายเพื่อสนับสนุนการให้บริการธุรกิจของ CAT2Call Plusth_TH
dc.title.alternativeApplying IP-PBX on raspberry pi board for business support services of CAT2Call Plusen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of tis independent study were as follows: (1) to study the theory and knowledge of internet telephony and collaboration with the IP-PBX system; (2) to study the development for Raspberry Pi board; (3) to compare performance, advantages and disadvantages between IP-PBX system using Asterisk software operation on a computer server and on a Raspberry Pi board; (4) to obtain IP-PBX at an economical price. The research methodogy includes three main methods: (1) To design overall architecture of IP- PBX system using Asterisk software based on a Raspberry Pi board and setting up with numbers of CAT2Call Plus, (2) to develop functions of the IP-PBX system, and (3) To integrate an IP-PBX with network system that covering calls via LAN, Wireless LAN and between branch via organization intranet and internet network. In conclusion, the study conducted the experiments, and found that; (1) IP-PBX system applied on the Asterisk software and run on the Raspberry Pi board can be used with the number of CAT2Call plus well. However, the system result when comparing server computer shown that overall calling quality was not different when being tested in the same network, period of time and device, (2) the system could supports the basic functions including incoming calls, outgoing calls, calls forwarding and verifying the Call Detail Record (CDR), and (3) the system could reduce cost, flexible and energy savingen_US
Appears in Collections:Science Tech - Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_150203.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons