Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12794
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐพร เห็นเจริญเลิศ | th_TH |
dc.contributor.author | ศิริมา นุ้ยไม, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-18T07:12:14Z | - |
dc.date.available | 2024-09-18T07:12:14Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12794 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบสนับสนุนติดตามการเข้าชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเอนเอฟซี และ 2) ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสนับสนุนติดตามการเข้าชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเอนเอฟซี ของโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ รวบรวมจากข้อมูล 2 กลุ่ม คือ ครูประจำชั้น จำนวน 30 คนและกลุ่มนักเรียน จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน Tag RFID และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาระบบ ได้แก่ .Net Framework, Microsoft SQL Server.X, Microsoft Visual Basic 2010, Android Studio เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน คือ แบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า (1) ระบบสนับสนุนติดตามการเข้าชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเอนเอฟซี สามารถติดตามการเข้าชั้นเรียนแทนการขานชื่อนักเรียนได้ ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ และ (2) กลุ่มนักเรียนมีระดับความพึงพอใจทั้งในด้านการใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุด (X =4.30) และประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก (X =4.03) และ(3) กลุ่มครูประจำชั้นมีระดับความพึงพอใจทั้งในด้านการใช้งาน (X = 4.06) และประสิทธิภาพ(X =4.07) อยู่ในระดับมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารสนามใกล้ | th_TH |
dc.subject | ระบบสื่อสารไร้สาย | th_TH |
dc.subject | นักเรียน--ระบบติดตาม | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร | th_TH |
dc.title | ระบบสนับสนุนติดตามการเข้าชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเอนเอฟซีของโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Development of supporting system for tracking attend class using NFC technology of Nikomsangtonang School, Suratthani Primary Educational Service Area Office 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to develop supporting system for tracking attend class using NFC technology, and (2) to evaluate the user satisfaction of the system for tracking attend class using NFC technology of Nikomsangtonang School, Suratthani Primary Educational Service Area Office 1. The data for this research were divided into two groups. The first group was 30 teachers. The second group was 100 students of Nikomsangtonang School, Suratthani primary Educational Service Area Office 1, The tools were computer, smart phone, tag RFID and software for system development such .Net Framework, Microsoft SQL Server.X, Microsoft Visual Basic 2010, Android Studio. The evaluation tool was questionnaire. The results of this research were as follows: (1) system for tracking attend class using NFC technology of Nikomsangtonang school, Suratthani primary Educational Service Area Office 1, was operated in practical. The users received accurate and up-to-date information; (2) the students were satisfied in terms of usability at the highest level ( X ̅ =4.30) and efficiency at a high level ( X ̅ =4.03); and (3) The teachers were satisfied in terms of usability ( X ̅ =4.06) and efficiency ( X ̅ =4.07) at a high level | en_US |
Appears in Collections: | Science Tech - Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_161004.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License