Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12802
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขจิตพรรณ กฤตพลวิมานth_TH
dc.contributor.authorอุดร พันกระจัดth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.date.accessioned2024-09-23T02:09:21Z-
dc.date.available2024-09-23T02:09:21Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12802-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ 1) เพื่อกำหนดจุดการติดตั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายแลนไร้สายให้มีความเหมาะสมและครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของอาคาร 2) เพื่อกำหนดช่องสัญญาณความถี่ของอุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายแลนไร้สาย 3) เพื่อวัดคุณภาพสัญญาณเครือข่ายแลนไร้สายของสำนักงานเทศบาลนครอุดรธานี และ 4) เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพการถ่ายโอนข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายแลนไร้สาย กระบวนการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรม Ekahau Heat mapper Wi-Fi Site Survey เพื่อสำรวจพื้นที่ที่ให้บริการของอุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายแลนไร้สาย โดยการตรวจจุดติดตั้งทุกๆ ชั้นของอาคารที่ทำการสำรวจ โปรแกรม inSSIDer4 เพื่อสำรวจหมายเลขเครือข่ายช่องสัญญาณเครือข่าย การรบกวนในช่องสัญญาณเดียวกัน และข้อมูลการซ้อนทับของช่องสัญญาณของอุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายแลนไร้สาย โปรแกรม Acrylic Wi-Fi Professional เพื่อวัดค่าความแรงของสัญญาณเครือข่ายแลนไร้สาย โดยวัดจากค่าระดับความเข้มของสัญญาณที่รับได้ ซึ่งเป็นการวัดความแรงหรือความเข้มของสัญญาณที่ส่งออกมาจากอุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายแลนไร้สาย และค่าอัตราส่วนการส่งสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน และใช้โปรแกรม Net Meter เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการรับส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายแลนไร้สาย โดยสรุปการดำเนินการทดลองและพบว่าการติดตั้งระบบเครือข่ายแลนไร้สายต้องมีการวางแผนที่ดี ทั้งในเรื่องตำแหน่งในการติดตั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายแลนไร้สาย และการบริหารจัดการช่องความถี่ของสัญญาณเครือข่ายแลนไร้สาย เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาสัญญาณรบกวนกันเองระหว่างอุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายแลนไร้สายที่ติดตั้งอยู่ใกล้กัน ซึ่งการแก้ปัญหาดังกล่าวทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานของระบบเครือข่ายแลนไร้สาย มีประสิทธิภาพและความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลที่ดีขึ้นอย่างชัดเจนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเครือข่ายเฉพาะที่ไร้สายth_TH
dc.subjectระบบสื่อสารไร้สายth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารจัดการเครือข่ายแลนไร้สาย กรณีศึกษา สำนักงานเทศบาลนครอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativePerformance analysis of wireless lan network management case study of Udontani Municipalityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to determine the set up positions of WLAN access points appropriately with covering all areas of the building; 2) to define the frequency channels of WLAN access points; 3) to measure the WLAN signal quality of Udonthani Municipality; and 4) to monitor the performance of data transfer via WLAN. The research methodology was applying the software as follows: Ekahau Heat mapper Wi-Fi Site Survey to explore the WLAN APs coverage areas by measuring all APs installed on each floor of the survey building; InSSIDer4 program to explore the network number, network channel, network co-channel interference and the overlapping access points; Acrylic Wi-Fi professional program to measure the WLAN signal strength as measured by the received signal strength indicator (RSSI) and the signal-to-noise ratio (SNR); and Net Meter program to measure the WLAN data transmission performance. In conclusion the study conducted the experiments and found that the installation of WLAN need to be reasonably planned for the WLAN access points positions, and WLAN channel allocation management. This was in order to avoid channel interference between adjacent WLAN channels. This solution for this problem could remarkably improve the WLAN performance and data transmission speedsen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151027.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons