Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12811
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย | th_TH |
dc.contributor.author | กัลยา ศุทธกิจไพบูลย์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-23T07:37:24Z | - |
dc.date.available | 2024-09-23T07:37:24Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12811 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อ (1) ศึกษาความสุขในการทำงานของพยาบาล วิชาชีพโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย และ (2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความสุขในการทำงานของพยาบาล วิชาชีพที่ใช้รูปแบบพัฒนาการทำงานเป็นทีมตามแนวคิดของโรมิกในกลุ่มทดลองกับพยาบาลวิชาชีพในกลุ่มควบคุมที่ปฏิบัติงานตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในแผนกผู้ป่วยในของโรงพยาบาล ศรีสังวรสุโขทัย ที่ได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจง รวมจำนวนทั้งสิ้น 134 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองซึ่ง เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ได้รับการพัฒนาการทำงานเป็นทีมทางการพยาบาลตามแนวคิดของโรมิกนาน 5 สัปดาห์จำนวน 67 คน และพยาบาลวิชาชีพในกลุ่มควบคุมที่ปฏิบัติงานตามปกติจำนวน 67 คน ความสุขในการทำงานวัดจากแบบสอบถามความสุขในการทำงานที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่านก่อนนำมาหาค่าความเที่ยง สัมประสิทธ์ของครอนบราค มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบทีที่มีกลุ่มตัวอย่างอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสุขในการทำงานโดยรวมและรายด้านของพยาบาลวิชาชีพทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง (2) ค่าเฉลี่ยคะแนนความสุขในการทำงาน โดยรวมและรายด้านของพยาบาลวิชาชีพในกลุ่มทดลองสูงกว่าพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p <. 05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ--การทำงานเป็นทีม | th_TH |
dc.subject | ความสุข | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาล | th_TH |
dc.title | ผลของรูปแบบการพัฒนาการทำงานเป็นทีมทางการพยาบาลตามแนวคิดของโรมิกต่อความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of an approach for developing nursing teamwork based on Romig's concepts on workplace happiness of professional nurses at Srisangwornsukhothai Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this quasi-experimental research were: (1) to study the workplace happiness of professional nurses at Srisangwornsukhothai Hospital and (2) to compare mean scores of the workplace happiness between professional nurses who had developed nursing teamwork based on Romig’s concepts (an experimental group)and professional nurses who worked according to their usual routine ( control group). The sample consisted of 134 professional nurses working in the In-patient wards at Srisangwornsukhothai Hospital. They were selected by the purposive sampling technique. The experimental group consisted of 67 nurses who had developed an approach to nursing teamwork based on Romig’s concepts for five weeks. The control group consisted of 67 nurses who worked as usual in their workplace. The Workplace Happiness Questionnaires (WHQ) were used for measuring workplace happiness, and WHQs were examined for content validity by five experts. The Cronbach’s alpha reliability coefficient of the WHQ was 0.93. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and independent t-test. The research findings were as follows. 1) Professional nurses both experimental and control group rated their workplace happiness at the high level. 2) Mean scores for workplace happiness of professional nurses in the experimental group were statistically significantly higher than the control group (p< 0.05) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fullltext_138850.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License