Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12825
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารี ชีวเกษมสุข | th_TH |
dc.contributor.author | เอื้อมพร อินทระ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-27T08:18:49Z | - |
dc.date.available | 2024-09-27T08:18:49Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12825 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา1) ปัญหาของการบันทึกทางการพยาบาล โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ 2) สาเหตุของปัญหาการบันทึกทางการพยาบาล และ 3) แนวทางแก้ไขปัญหาการบันทึกทางการพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ที่ได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจง คือ 1) กลุ่มพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย และ 2) กลุ่มพยาบาลปฏิบัติการ กลุ่มละ 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แนวทางการสนทนากลุ่มเรื่องปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไขปัญหาการบันทึกทางการพยาบาลซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค่าความถี่ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการจำแนกชนิดข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัญหาการบันทึกทางการพยาบาล โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์มี 4 ด้าน ได้แก่ (1) แบบฟอร์มมีมากเกินไป ไม่ชัดเจน และซ้ำซ้อน (2) เนื้อหาการบันทึกไม่ครอบคลุม ไม่มีสาระสำคัญ และไม่ต่อเนื่อง (3) วิธีการบันทึกไม่เป็นไปในแนวเดียวกับการปฏิบัติบันทึกโดยไม่ได้เก็บข้อมูล และอ่านไม่ออก และ (4) ข้อมูลที่บันทึกไม่ถูกนำไปใช้ 2) สาเหตุของปัญหาการบันทึกทางการพยาบาล มี 3 ประการ ได้แก่ (1) สาเหตุจากระบบงาน ได้แก่ ภาระงานมากและระบบงานไม่เอื้อต่อการบันทึก (2) สาเหตุจากผู้บันทึก โดยผู้บันทึกขาดความรู้เรื่องโรคและการบันทึก มีประสบการณ์การทํางานน้อย และมีทัศนคติเชิงลบต่อการบันทึก และ (3) สาเหตุจากการ บริหารงาน โดยมีการนิเทศการบันทึกไม่สม่ำเสมอ และการตรวจสอบการบันทึกไม่มีประสิทธิภาพ และ 3) แนวทางแก้ไขปัญหาการบันทึกทางการพยาบาล มี 4 ด้าน ได้แก (1) ปรับปรุงรูปแบบการบันทึก (2) ปรับปรุงระบบงาน (3) พัฒนาความรู้ ทักษะ และทัศนคติของผู้บันทึก และ(4) ปรับปรุง การนิเทศงานการบันทึก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | บันทึกการพยาบาล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาล | th_TH |
dc.title | ปัญหาสาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาการบันทึกทางการพยาบาลโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Problems, causes, and resolutions of nursing records at Chumphon Ket Udomsakdi Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this qualitative research were: 1) to analyze nursing documentation problems at Chumphon Khet Udomsakdi hospital, 2) to investigate causes of nursing documentation problems, and 3) to explore guidelines to improve nursing documentation problems. The samples were divided into 2 groups: 1) eight head nurses and 2) eight professional nurses. They were selected by purposive sampling. A study tool comprised a focus group discussion guideline which was verified by 3 experts. Quantitative data were analyzed by frequency; while, qualitative data were done by typological analysis. The results of this study were as follows. 1) Nursing documentation problems at Chumphon Khet Udomsakdi hospital were categorized into 4 parts including (1) forms: massive, unclear, and repetitive; (2) recorded data: incomplete, nonsense, and discontinuous; (3) charting procedures: irrelevant to charting performance, charting without actual gathering data, and illegible; and (4) documented data was not useful. 2) Causes of the documentation problems comprised 3 items: (1) work overload and job systems did not facilitated charting; (2) nurses had insufficiency knowledge of both disease and charting, inadequate job experience, and negative attitude toward documenting performance; and (3) supervision was irregular, and auditing was inefficient. 3) Guidelines to improve nursing documentation consisted of 4 types: 1) improving charting procedures, 2) refining job systems; 3) enhancing nurses’ charting knowledge, skills, and attitudes; and (4) modifying supervision on charting performance. | th_TH |
Appears in Collections: | Nurse-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_148787.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License