Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12830
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวภา ติอัชสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorกานต์พิชชา วิจารณ์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-28T04:15:49Z-
dc.date.available2024-09-28T04:15:49Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12830en_US
dc.description.abstractการศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะส่วนบุคคล 2) ระดับความรอบรู้ ที่ถูกต้องเรื่องสุขภาพช่องปาก 3) ระดับความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกบฉลากโภชนาการ ั 4) ระดับการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปาก 5) สภาวะสุขภาพช่องปาก และ 6) ความสัมพันธ์ระหวางลักษณะส ่ ่วนบุคคล ระดับความรู้ที่ถูกต้องเรื่องสุขภาพช่องปาก และฉลากโภชนาการ ระดับการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากและสภาวะสุขภาพช่องปาก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ในอ าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ ประชากรที่ศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมปี ที่ 3 ในอ าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ จ านวน 412 คน ในโรงเรียน 13 แห่ง ขนาดตัวอยางที่ศึกษา ่ 200 คน วิธีการสุ่มตัวอยางที่ใช้คือ การคัดเลือกแบบก ่ าหนดโควต้าโดยการกาหนดสัดส ่วนของตัวอย่างแต่ละโรงเรียนตามจ านวนประชากรในโรงเรียนนั้น และเลือกตัวอย่าง ในแต่ละโรงเรียนโดยใช้วิธีการจับฉลาก เครื่องมือการวิจัยเป็ น แบบสอบถามให้ตอบด้วยตนเอง ซึ่งมีค่าความเที่ยง ระหวาง 0.05 ่ -0.79 ทันตบุคลากรท าการถามค าถามตามแบบสอบถามและให้นักเรียนเขียนตอบให้ข้อมูลพร้อมกนั ในห้องเรียน และท าการตรวจสภาวะสุขภาพช่องปาก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบวา ่ 1) นักเรียนเป็ นเพศชาย นักเรียนที่มี อายุ 14 ปี มีค่าดัชนีมวลกายในระดับปกติและมีเกรดเฉลี่ยระดับสูง มีสัดส่วนสูงสุด 2) มีระดับความรอบรู้ที่ถูกต้องเรื่องสุขภาพช่องปากโดยรวมในระดับสูง 3) มีระดับความรู้ที่ถูกต้องเรื่องฉลากโภชนาการโดยรวมในระดับปานกลาง 4) มีระดับการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากโดยรวมในระดับปานกลาง 5) ประมาณครึ่งหนึ่งของนักเรียนมีฟันผุ เหงือกอักเสบและ 5) ไม่มีความสัมพันธ์กนระหว ั างลักษณะส ่ ่วนบุคคล ระดับความรู้ที่ถูกต้องเรื่องสุขภาพช่องปาก และฉลากโภชนาการ ระดับการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปาก และสภาวะสุขภาพช่องปาก ข้อเสนอแนะคือ เจ้าหน้าที่ด้านทันตสุขภาพให้ความรู้ที่ถูกต้องเพื่อแกไขส ้ ่วนขาดของความรู้ของนักเรียนเกี่ยวกบสุขภาพช ั ่องปาก ฉลากโภชนาการ และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectปาก--การดูแลและสุขวิทยาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุขth_TH
dc.titleความรอบรู้เรื่องการปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพช่องปากและสภาวะสุขภาพช่องปากของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในอำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeOral health practice literacy and oral health status of grade 9 students in Wanghin District, Si Sa Ket Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were to study: (1) personal characteristics; (2) level of correct oral health literacy; (3) level of correct knowledge on nutrition label; (4) level of correct practice on oral health; (5) oral health status; and (6) relationship among personal characteristics, level of correct oral health literacy and nutrition label, correct practice on oral health, and oral health status of grade 9 students in Wanghin District, Si Sa Ket Province. The studied population was 412 grade 9 students from 13 schools in Wanghin District, Si Sa Ket Province. A total of 200 students were quota random sampled based on numbers of students and they were drawn from student proportion in each school. The research tools used was a self-reported questionnaire with a reliability value of 0.05-0.79. A dental health personnel interviewed the students by the questionnaires in the classrooms, and accompanied by examination of students' oral status. Percentage, mean, standard deviation, Chi square test, and Pearson's product of moment coefficients were used for data analyses. The research findings revealed that: (1) most of the students were male, 14 years old, having normal body mass index, and having high grade point average; (2) overall correct oral health literacy was at a high level; (3) overall correct knowledge on nutrition label was at a moderate level; (4) overall correct practice on oral health was at a moderate level; (5) half of them had caries and gingivitis; and (6) no relationships among personal characteristics, level of correct oral health literacy and nutrition label, correct practice on oral health, and oral health status were found. The recommendation was that the dental health personnel should provide correct knowledge in order to improve oral health, nutrition label and correct oral health literacy.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148411.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons