Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12830
Title: | ความรอบรู้เรื่องการปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพช่องปากและสภาวะสุขภาพช่องปากของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในอำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ |
Other Titles: | Oral health practice literacy and oral health status of grade 9 students in Wanghin District, Si Sa Ket Province |
Authors: | เยาวภา ติอัชสุวรรณ กานต์พิชชา วิจารณ์, 2523- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี ปาก--การดูแลและสุขวิทยา การศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุข |
Issue Date: | 2557 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะส่วนบุคคล 2) ระดับความรอบรู้ ที่ถูกต้องเรื่องสุขภาพช่องปาก 3) ระดับความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกบฉลากโภชนาการ ั 4) ระดับการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปาก 5) สภาวะสุขภาพช่องปาก และ 6) ความสัมพันธ์ระหวางลักษณะส ่ ่วนบุคคล ระดับความรู้ที่ถูกต้องเรื่องสุขภาพช่องปาก และฉลากโภชนาการ ระดับการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากและสภาวะสุขภาพช่องปาก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ในอ าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ ประชากรที่ศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมปี ที่ 3 ในอ าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ จ านวน 412 คน ในโรงเรียน 13 แห่ง ขนาดตัวอยางที่ศึกษา ่ 200 คน วิธีการสุ่มตัวอยางที่ใช้คือ การคัดเลือกแบบก ่ าหนดโควต้าโดยการกาหนดสัดส ่วนของตัวอย่างแต่ละโรงเรียนตามจ านวนประชากรในโรงเรียนนั้น และเลือกตัวอย่าง ในแต่ละโรงเรียนโดยใช้วิธีการจับฉลาก เครื่องมือการวิจัยเป็ น แบบสอบถามให้ตอบด้วยตนเอง ซึ่งมีค่าความเที่ยง ระหวาง 0.05 ่ -0.79 ทันตบุคลากรท าการถามค าถามตามแบบสอบถามและให้นักเรียนเขียนตอบให้ข้อมูลพร้อมกนั ในห้องเรียน และท าการตรวจสภาวะสุขภาพช่องปาก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบวา ่ 1) นักเรียนเป็ นเพศชาย นักเรียนที่มี อายุ 14 ปี มีค่าดัชนีมวลกายในระดับปกติและมีเกรดเฉลี่ยระดับสูง มีสัดส่วนสูงสุด 2) มีระดับความรอบรู้ที่ถูกต้องเรื่องสุขภาพช่องปากโดยรวมในระดับสูง 3) มีระดับความรู้ที่ถูกต้องเรื่องฉลากโภชนาการโดยรวมในระดับปานกลาง 4) มีระดับการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากโดยรวมในระดับปานกลาง 5) ประมาณครึ่งหนึ่งของนักเรียนมีฟันผุ เหงือกอักเสบและ 5) ไม่มีความสัมพันธ์กนระหว ั างลักษณะส ่ ่วนบุคคล ระดับความรู้ที่ถูกต้องเรื่องสุขภาพช่องปาก และฉลากโภชนาการ ระดับการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปาก และสภาวะสุขภาพช่องปาก ข้อเสนอแนะคือ เจ้าหน้าที่ด้านทันตสุขภาพให้ความรู้ที่ถูกต้องเพื่อแกไขส ้ ่วนขาดของความรู้ของนักเรียนเกี่ยวกบสุขภาพช ั ่องปาก ฉลากโภชนาการ และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12830 |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_148411.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License