Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12831
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คงth_TH
dc.contributor.authorขวัญทิพย์ เฮงไป๋, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-28T04:22:41Z-
dc.date.available2024-09-28T04:22:41Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12831en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพในการจัดทำระบบบัญชีการเงินในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในด้าน ความถูกต้อง ความครบถ้วน ความทันเวลา (2) ศึกษาคุณลักษณะส่วนบุคคลและความรู้ ของผู้ทำบัญชีในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (3) เปรียบเทียบสภาพการจัดทำระบบบัญชีการเงินในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนนทบุรี จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคลและความรู้ และ(4) ค้นหาปัญหาการจัดทำระบบบัญชีการเงินในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่การเงินหรือบุคลากรที่ปฏิบัติงานเป็นผู้จัดทำบัญชีการเงินของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 76 คน โดยเก็บทุกหน่วยประชากรเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ที่มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.7 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบทีแบบอิสระและการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการดำเนินงานด้านการจัดทำบัญชี ในด้าน ความถูกต้อง ความครบถ้วน ความทันเวลา อยู่ในระดับสูง (2) คุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้จัดทำบัญชีการเงิน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 48 ปี ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีมากที่สุด ดำรงตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขมากที่สุด ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ด้านงานการเงินและบัญชีต่ำกว่า 10 ปี และความรู้ของผู้จัดทำบัญชีการเงินในภาพรวมส่วนใหญ่มีความรู้อยู่ในระดับสูง (3) การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างลักษณะส่วนบุคคลกับสภาพการจัดทำระบบบัญชีการเงินในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในด้านความถูกต้อง ความครบถ้วน ความทันเวลา จำแนกตาม อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ด้านงานการเงินและ บัญชี และความรู้ พบว่าไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้เมื่อจำแนกตามเพศ สถานภาพสมรส และตำแหน่งในการปฏิบัติงาน พบว่าสภาพการจัดทำระบบบัญชีการเงินในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในด้านความถูกต้องความครบถ้วน ความทันเวลาแตกต่างกัน และ 4) ปัญหาการจัดทำระบบบัญชีการเงินที่สำคัญคือมีการฝากเงินสดในมือไม่ทันเวลาทำให้เงินสดในมือเกินกว่าที่ระเบียบกำหนด และมีการออกใบเสร็จรับเงินไม่ถูกต้องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล--ไทย--นนทบุรี--การบัญชีth_TH
dc.titleสภาพและปัญหาการจัดทำระบบบัญชีการเงินโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeStatus and problems in preparation of financial accounting system of Sub-district health promotion hospitals, Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were to: (1) study status and problems in the preparation of financial accounting system of sub-district health promotion hospitals in the aspects of accuracy, completeness and punctuality ; (2) study personal characteristics and knowledge of accountants in sub-district health promotion hospitals; (3) compare status of financial accounting system of sub-district health promotion hospitals by personal characteristics and knowledge; and (4) investigate problems in the preparation of financial accounting system in sub-district health promotion hospitals. The study population was all 76 financial staff at sub-district health promotion hospitals. Data collection was done by a questionnaire, with a reliability value of .7. Data were analyzed into frequency, percentage, mean, minimum, maximum, standard deviation, independent t-test and one -way ANOVA. Results were as follows: (1) status of financial accounting in terms of accuracy, completeness and punctuality were at the high level; (2) most of accountants were female, 48 years old on average, married, having a bachelor degree, positioned as a public health officer, having less than 10 years of financial and accounting experience, and having high level of knowledge about financial and accounting; (3) the comparison between personal characteristics and status of financial accounting system of sub-district health promotion hospitals revealed no differences in terms of accuracy, completeness, and punctuality, determined by ages, educational level, financial and accounting experience and knowledge. However, when determined by gender, marital status and work position, differences were found in accuracy, completeness and punctuality; and 4) most important problem about the preparation of financial accounting system were late cash deposit, which caused exceeding cash in hands, and incorrect issuance of receipts.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_147730.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons