Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12832
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรางคณา จันทร์คง | th_TH |
dc.contributor.author | จันทร์ธณา จันทร์เที่ยง, 2530- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-28T04:31:14Z | - |
dc.date.available | 2024-09-28T04:31:14Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12832 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วระดับตำบล (2) กระบวนการบริหารของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วระดับตำบล (3) ผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ระดับตำบล และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการบริหารกับผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ระดับตำบลในจังหวัดนนทบุรี ประชากรที่ศึกษา คือ หัวหน้าทีมและแกนหลักของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วระดับตำบล ในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 152 คน โดยเลือกทุกหน่วยประชากร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ที่มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณลักษณะส่วนบุคคล ของสมาชิกทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ระดับตำบลในจังหวัดนนทบุรี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 44.53 ปี มีสถานภาพคู่มากที่สุด สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และดำรงตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานในทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วระดับตำบลเฉลี่ย 5.43 ปี (2) กระบวนการบริหาร ของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ระดับตำบล ในภาพรวมส่วนใหญ่มีการบริหารอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการสั่งการ (3) ผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ระดับตำบล จังหวัดนนทบุรี ในภาพรวมส่วนใหญ่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานระดับดีร้อยละ 53.90 และ (4) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 ได้แก่ กระบวนการบริหาร ซึ่งประกอบด้วย การวางแผน การจัดการองค์กร การสั่งการ การประสานงานและ การควบคุมกำกับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว--การบริหาร | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วระดับตำบลในจังหวัดนนทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to disease prevention and control performance among Sub-district surveillance and rapid response teams in Nonthaburi Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were to study: (1) demographic factors of sub-district surveillance and rapid response teams; (2) management process of surveillance and rapid response teams; (3) performance on disease prevention and control of sub-district surveillance and rapid response teams; and (4) relationship between management process and performance on disease prevention and control of sub-district surveillance and rapid response teams in Nonthaburi province. The study population consists of all 152 sub-district surveillance and rapid response team leaders in Nonthaburi province. An instrument for data collection was a questionnaire, with a reliability value of 0.95. Statistics for data analyses were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's product moment correlation coefficient and Chi-square test. The findings showed that: (1) regarding personal factors, the respondents were female, 44.53 years old, married, finishing bachelor's degree, public health officers, having 5.43 years of working experience at Sub-district Surveillance and Rapid response teams; (2) overall management process of sub-district Surveillance and Rapid response teams was at a high level. When considering in each aspect, it was found that the highest mean was a commanding aspect; (3) A total of 53.90 percent of disease prevention and control of sub-district surveillance and rapid response team performance passed the standard at a good level; and (4) factor related to disease prevention and control performance, significantly at 0.01 level, was management process factor, including planning, organization managing, commanding, cooperating, and controlling. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_147733.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License