Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12836
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารยา ประเสริฐชัย | th_TH |
dc.contributor.author | เฉลิม อือรวมสัมพันธ์, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-30T06:26:42Z | - |
dc.date.available | 2024-09-30T06:26:42Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12836 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคล และการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนวัดนิมมานรดี 2) การตัดสินใจจัดฟันแฟชั่นในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนวัดนิมมานรดี และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการกับการตัดสินใจจัดฟันแฟชั่นในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนวัดนิมมานรดี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 3 ประจำปีการศึกษา 2560 ของโรงเรียนวัดนิมมานรดี จำนวน 307 คน ใช้ทุกหน่วยประชากร เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบตำแหน่งของเคนคอลล์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลการเรียนเฉลี่ย 2.00 - 2.99 ผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่างมีรายได้เฉลี่ย 10,000 - 20,000 บาทต่อเดือน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยจัดฟันแฟชั่น และไม่มีคนใกล้ชิดเคยจัดฟันแฟชั่น ส่วนการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง โดยพบว่าด้านการขายโดยพนักงานขาย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (2) การตัดสินใจ จัดฟันแฟชั่นอยู่ในระดับปานกลาง และ (3) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ ประสบการณ์จัดฟันแฟชั่นของตนเอง และประสบการณ์จัดฟันแฟชั่นของคนใกล้ชิดมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจจัดฟันแฟชั่น และการ สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจจัดฟันแฟชั่น ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ข้อเสนอแนะในการนำวิจัยไปใช้ เนื่องจากการจัดฟันแฟชั่นทำให้เกิดแต่ความเสียหายกับผู้ใส่เครื่องมือจัดฟันแฟชั่น การร่วมมือจากทุกภาคีเครือข่ายและการรณรงค์ป้ องกันไม่ให้เกิดการสื่อสารการตลาด แบบบูรณาการจากผู้ขายหรือให้บริการจัดฟันแฟชันสู่ผู้บริโภคเป็นสิ่งจำเป็น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ทันตกรรมจัดฟัน | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค--การตัดสินใจ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | การตัดสินใจจัดฟันแฟชั่นในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา : กรณีศึกษาของโรงเรียนวัดนิมมานรดี กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Decision-making for fashion dental braces among secondary school students: a case study at Wat Nimmanoradee school under Bangkok metropolitan administration | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were: (1) to identify personal characteristics and integrated marketing communication (IMC) tools; (2) to identify decision-making process; and (3) to determine the relationship between personal characteristics as well as IMC tools and decision-making, all regarding fashion dental braces in secondary school students at BMA's Wat Nimmanoradee School. The study was conducted among all 307 secondary schoolchildren at the school in academic year 2017. Data were collected using a questionnaire with the reliability value of 0.95. Statistical procedures used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test, Kendall Rank correlation coefficient and Pearson product-moment correlation coefficient. The findings revealed the following: (1) among all respondents or schoolchildren, most of them were male in seventh grade; their grade point average was 2.00-2.99; parents' average income was 10,000-20,000 baht per month; they had never worn any fashion dental braces, nor had their close friends; the overall IMC activities for dental braces were at the moderate level, whereas direct selling activities were the highest; (2) the decision-making for fashion dental braces was at the moderate level; and (3) the factors significantly associated with the decision-making for fashion dental braces were age, experience in brace-wearing, close friend's experience in brace-wearing, and IMC activities (p = 0.05). Thus, it is recommended that, as fashion dental brace wearing is harmful to the wearers, all relevant sectors or partners should cooperate in campaigning against IMC that promotes fashion dental braces among consumers. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_155669.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License