Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12839
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารยา ประเสริฐชัย | th_TH |
dc.contributor.author | ทิพากร ดีแดง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-30T06:53:53Z | - |
dc.date.available | 2024-09-30T06:53:53Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12839 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยด้านการสนับสนุน ปัจจัยด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติงานของเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา และ (2) ความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยด้านการสนับสนุนและปัจจัยด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ต่อการปฏิบัติงานของเครือข่ายเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ตำบลแก่งเลิงจาน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ประชากรที่ศึกษาคือ เครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาระดับตำบล ในพื้นที่อำเภอเมือง จำนวน 2,524 คน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา จำนวน 240 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงจากเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาตำบลแก่งเลิงจาน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ0.926 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบไค-สแควร์ สถิติทดสอบฟิชเชอร์แอคแซกท์ และสถิติวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอายุเฉลี่ยประมาณ 52.1 ปี สถานภาพสมรสคู่ ระดับการศึกษาสูงสุดชั้นมัธยมศึกษา อาชีพหลักเกษตรกรรม ดำรงตำแหน่งอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เคยผ่านการอบรมเกี่ยวกับงานระบาควิทยา ปัจจัยด้านการสนับสนุนในการปฏิบัติงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก การปฏิบัติงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาในชุมชนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานของเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p <. 05) ได้แก่ การอบรมเกี่ยวกับงานระบาดวิทยา ปัจจัยด้านการสนับสนุนการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ข้อเสนอแนะของการศึกษา หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องควรมีการพัฒนาความรู้และทักษะของเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาระดับตำบลอย่างเป็นประจำและต่อเนื่อง อีกทั้งควรสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ และจัดสรรงบประมาณตามความจำเป็นในการปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ เพื่อให้การปฏิบัติงานของเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาระดับตำบล มีประสิทธิภาพตามที่กำหนดไว้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ระบาดวิทยา | th_TH |
dc.subject | การเฝ้าระวังโรค | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการปฏิบัติงานของเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตำบลแก่งเลิงจาน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to the operation of the epidemiological surveillance network in kaeng Loeng Jarn Sub-district, MahaSarakham Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This survey research aimed to examine: (1) personal factors, supporting factors, motivating factors and actual operation of the epidemiological surveillance network; and (2) relationships of personal factors, supporting factors, motivating factors and actual operation of the epidemiological surveillance network in Kaeng Loeng Jarn sub-district, Muang District, Maha Sarakham Province. The population included 2,524 staff working at the sub-district epidemiological surveillance network in Muang District. The samples of study were 240 staff chosen by purposive sampling method from the epidemiological surveillance network, Kaeng Loeng Jarn sub-district. The data were collected by a questionnaire. The reliability of the questionnaire was 0.926. Frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-Square Test, Fisher Exact Test, and Pearson Correlation Coefficient were employed to analyze the data. The findings of the study revealed as follows: (1) the personal factors; most of the respondents were females, with an average age of 52.1 years old. Their marital status was married. The highest educational level was high school. The major occupation was agriculturist. They also worked as village health volunteers and had been trained in epidemiology. Overall supporting factors of the operation was at the high level. Overall motivating factors of the operation was also at the high level. The actual operation of the epidemiological surveillance network in the community was at the high level; and (2) the factors associated with the operation of the epidemiological surveillance network at the statistical significant level (p <. 05) were training on epidemiology, the supporting factors, and the motivating factors of the actual operation. Recommendations of the study were that the related organizations should provide regular and consistent training topics in knowledge and skill development for the sub-district epidemiological surveillance network, and support materials and allocate sufficient budget to enhancing operational effectiveness of the epidemiological surveillance network. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_148760.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License